Please use this identifier to cite or link to this item:
https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/589
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ก้งทองศุภรัตน์, สายทอง | - |
dc.contributor.author | ทัศน์เจริญ, ศุภรัตน์ | - |
dc.contributor.author | สุวิมล เรืองศรี, สุวิมล | - |
dc.date.accessioned | 2019-02-14T02:14:34Z | - |
dc.date.available | 2019-02-14T02:14:34Z | - |
dc.date.issued | 2557-05-30 | - |
dc.identifier.uri | https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/589 | - |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเตรียมแก้วบอโรซิลิเกตจากขี้เถ้าแกลบ เพื่อใช้ในการกำบังรังสี โดยทำการหลอมแก้วใน สูตร xBi2O3: (90-x)B2O3: 10RHA เมื่อ x คือความเข้มข้นของ Bi2O3 ที่ 70, 75, 80 และ 85 wt% ผลที่ได้พบว่าขี้เถ้าแกลบที่ ผ่านการเผาที่อุณหภูมิ 1,000 °C มีปริมาณของ SiO2 มากที่สุด สามารถผลิตแก้วใสได้ แก้วบอโรซิลิเกตที่เตรียมได้จากขี้เถ้า แกลบในงานวิจัยนี้มีลักษณะใส สีน้ำตาลอมส้ม ผลการทดลองที่ได้พบว่าค่าปริมาตรต่อโมลแปรผกผันกับค่าความหนาแน่น การส่องผ่านแสงของแก้วจากเครื่องยูวี-วิสิเบิลสเปกโตรโฟโตมิเตอร์ พบว่าที่ความเข้มข้น 75 wt% ให้การส่องผ่านแสงที่ดีที่สุด และศึกษาการกำบังรังสีจากเครื่องแกมมาสเปกโตรมิเตอร์ที่พลังงาน 662 keV จากแหล่งกำเนิด 137Cs ผลที่ได้พบว่าค่า สัมประสิทธิ์การลดทอนรังสีมีค่าเพิ่มขึ้นเมื่อเพิ่มความเข้มข้นของสาร Bi2O3 ซึ่งแสดงให้เห็นถึงสมบัติการกำบังรังสีที่เพิ่มขึ้น ซึ่ง ผลการทดลองที่ได้สอดคล้องกับค่าทางทฤษฎีที่คำนวณได้จากโปรแกรม WinXCoM ผลการวิจัยครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าแก้วบอโร ซิลิเกตจากขี้เถ้าแกลบสามารถใช้เป็นวัสดุกำบังรังสีได้ในช่วงความเข้มข้นของ Bi2O3 ที่ 75-85 wt% | en_US |
dc.subject | แก้ว, แก้วบอโรซิลิเกต, ขี้เถ้าแกลบ, รังสี | en_US |
dc.title | การสังเคราะห์แก้วบอโรซิลิเกตจากขี้เถ้าแกลบสำหรับประยุกต์ใช้เป็นแก้วกำบังรังสี Synthesis of Borosilicate Glass from Rice Husk Ash as Radiation Shielding Materials | en_US |
Appears in Collections: | Proceedings of the 11th NPRU National Academic Conference |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
20190214090639.pdf | 436.67 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.