Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/495
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorฤทธิบุญไชย, วิศิษฐ์-
dc.contributor.authorพงษ์สิทธิกาญจนา, ธงชัย-
dc.contributor.authorตันหยง, พงษ์สันติ์-
dc.contributor.authorโตโพธิ์ไทย, นรุตม์-
dc.contributor.authorอาภรณ์พิศาล, ชนพงษ์-
dc.date.accessioned2018-12-12T01:58:37Z-
dc.date.available2018-12-12T01:58:37Z-
dc.date.issued2560-09-28-
dc.identifier.urihttps://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/495-
dc.description.abstractงานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัญหาในการประกอบกิจการ ส้มโอ และการจัดการความรู้ของเกษตรกร ผู้ปลูกส้มโอนครปฐม 2) ศึกษาแนวทางการจัดการความรู้แบบมีส่วนร่วมของเกษตรกรผู้ปลูกส้มโอ นครปฐม ตัวอย่างจำแนกเป็น 2 กลุ่ม ดังนี้ 1) กลุ่มผู้ปลูกส้มโอ ในจังหวัดนครปฐม จำนวน 20 คน และ 2) กลุ่มผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับส้มโอจังหวัดนครปฐม จำนวน 10 คน สุ่มตัวอย่างด้วยวิธีเจาะจง ผลการศึกษาพบว่า สภาพปัญหาของการจัดการความรู้แบบมีส่วนร่วมมีดังนี้ 1) วิธีการปลูกส้มโอได้มาจากการสืบทอดของบรรพบุรุษ จากรุ่นสู่รุ่น โดยไม่มีการพัฒนาให้ดีขึ้น 2) การพัฒนาและการเรียนรู้คิดค้นวิธี เป็นแบบการลองผิดลองถูก และ 3) การแลกเปลี่ยน ความรู้มีในวงแคบ เฉพาะในกลุ่มเครือญาติเท่านั้น แนวทางการจัดการความรู้แบบมีส่วนร่วมของเกษตรกรผู้ปลูกส้มโอ มีดังนี้ 1) ต้องกระจายความรู้ และประสบการณ์ ให้เผยแพร่ไปทั้งกลุ่มเกษตรกร และกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพื่อผลประโยชน์ที่ยั่งยืนต่อวงการเพาะปลูกส้มโอในจังหวัดนครปฐม ต่อไป 2) การกระจายความรู้ต้องมีแบบแผนในการบันทึกให้เป็นลายลักษณ์ เพื่อปรับเปลี่ยนความรู้ที่ฝังลึกให้กลายเป็นความรู้ ที่ชัดแจ้งคืนกลับไปสู่ผู้ที่สนใจให้เป็นความรู้คงอยู่สืบไปen_US
dc.subjectการจัดการความรู้ การมีส่วนร่วม ส้มโอen_US
dc.titleแนวทางการจัดการความรู้แบบมีส่วนร่วมสำหรับเกษตรกรผู้ปลูกส้มโอ จังหวัดนครปฐม A participatory knowledge management approach for pomelo growers in Changwat Nakhon Pathom1en_US
Appears in Collections:Proceedings of the 11th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.