Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/461
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวงษ์สอาด, สรวิชญ์-
dc.date.accessioned2018-12-11T08:57:21Z-
dc.date.available2018-12-11T08:57:21Z-
dc.date.issued2560-09-28-
dc.identifier.urihttps://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/461-
dc.description.abstractจากการศึกษาแนวคิดและทฤษฎีประจักษประมาณในปรัชญาจอห์น ล็อค พบว่า “ประจักษประมาณ” ในปรัชญา จอห์น ล็อคนั้น เกิดจากประสบการณ์ทางประสาทสัมผัสและทางจิต โดยผ่านทางอายตนะภายนอกที่มากระทบอายตนะภายใน สามารถรับรู้ได้โดยตรง ที่เรียกว่า “ความรู้เชิงประจักษ์” ด้วยวิธีการทางตรรกวิทยาและจากการเปิดเผยจากพระเจ้า ก็คือ สารัตถะของโลก ภาวะของพระเจ้าและการพิสูจน์ความมีอยู่ของพระเจ้าที่มีอยู่จริง 3 อย่าง คือ สสาร จิต และพระเจ้า ที่สามารถ รับรู้ได้ด้วยประสาทสัมผัสว่าเป็นสัจภาวะ ก็คือ รู้ทันทีเมื่อเข้าใจคำพูด ไม่ต้องการความจริงอื่นมาสนับสนุน รู้ด้วยอาศัยการพิสูจน์ ด้วยความจริงที่ง่ายกว่าและที่ยอมรับแล้ว รู้ของเฉพาะหน่วยด้วยประสบการณ์ทางประสาทสัมผัส ความรู้ที่มีประโยชน์แต่ยัง พิสูจน์ให้แน่นอนไม่ได้ และยังไม่มีประสบการณ์โดยตรง และ ความรู้ทางศาสนาที่เป็นเรื่องของความเชื่อ ที่มีหลักฐานว่ามาจาก พระเป็นเจ้าจากการสัมผัสของ “จิตกับร่างกาย” ดังนั้น ล็อค จึงเห็นว่า ประสบการณ์นั้นเป็นบ่อเกิดแห่งความรู้อย่างแท้จริง โดยอาศัยหลักเหตุและผลที่เกิดความรู้จริง 3 ประเภท คือ 1) ความคิดที่เกิดจากการอาศัยประสบการณ์ภายนอก เข้ามากระทบ กับอายตนะภายใน เช่น ตา หู จมูก ลิ้น และกาย เป็นต้น ความคิดประเภทนี้ ไม่แน่ว่าให้ความรู้จริงหรือไม่ 2) ความคิดที่จิต สร้างขึ้น โดยอาศัยความนึกคิด โดยการอนุมานบ้าง เก็งหรือเดาบ้าง ความคิดประเภทนี้ ไม่สามารถให้ความจริงเสมอไปได้เลย 3) ความคิดติดตัว หรือความคิดที่ติดมาแต่แรกเกิด ที่เรียกว่า “สหชาตปัญญาหรือสหัชฌญาณ” สามารถให้ความรู้จริงได้ เป็นต้นen_US
dc.subjectแนวคิด ทฤษฎีประจักษประมาณ จอห์น ล็อคen_US
dc.titleแนวคิดและทฤษฎีประจักษประมาณในปรัชญาจอห์น ล็อค The concept and theory of John Locke’s Empiricismen_US
Appears in Collections:Proceedings of the 11th NPRU National Academic Conference

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
100.สรวิชญ์ วงษ์สอาด.pdf501.89 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.