Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/449
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorหิรัญสิงห์, บัญชา-
dc.contributor.authorบัวงาม, วิโรจน์-
dc.contributor.authorปิ่นแก้ว, วิรัตน์-
dc.contributor.authorชัยสุรสีห์, สิปาง-
dc.contributor.authorจางวนิชเลิศ, อนุวัฒน์-
dc.date.accessioned2018-12-11T08:47:56Z-
dc.date.available2018-12-11T08:47:56Z-
dc.date.issued2558-03-30-
dc.identifier.urihttps://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/449-
dc.description.abstractบทความนี้เป็นการนำเสนอการศึกษาและออกแบบสถานีไฟฟ้าย่อยแรงสูงของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ซึ่งบทความวิจัยนี้มาจากแนวความคิดที่ในแต่ละปีปริมาณการใช้ไฟฟ้าและค่าไฟฟ้าในมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมเพิ่มขึ้น ทุกๆ ปี ดังนั้นเพื่อเป็นการประหยัดค่าใช้จ่ายด้านพลังงานไฟฟ้าจึงมีการสร้างสถานีไฟฟ้าขึ้นเพื่อที่จะซื้อไฟฟ้าในราคาที่ถูกลง และยังเป็นการเพิ่มความน่าเชื่อถือให้กับการส่งจ่ายระบบไฟฟ้าภายในมหาวิทยาลัย อย่างไรก็ตามสิ่งที่ต้องคำนึงในการศึกษา และออกแบบสถานีไฟฟ้าย่อยแรงสูงในมหาวิทยาลัยคือขนาด ความปลอดภัย และจุดคุ้มทุนของการก่อสร้าง โดยสถานีไฟฟ้าที่เลือก คือ แบบฉนวนอากาศ (AIS) ซึ่งอุปกรณ์เกือบทั้งหมดของสถานีถูกบรรจุในท่อโลหะโดยใช้อากาศเป็นฉนวน ทำให้ขนาดของ สถานีไฟฟ้ามีขนาดเล็กลง เหลือพื้นที่ใช้สอยเพิ่มขึ้น และตัวสถานีไม่ได้รับผลกระทบจากสภาพแวดล้อมภายนอกจึงมี ความน่าเชื่อถือ ความปลอดภัยสูง เหมาะแก่การติดตั้งภายในมหาวิทยาลัย นอกจากนั้นในบทความนี้ยังได้คิดคำนวณค่าใช้จ่าย ในการก่อสร้างสถานีไฟฟ้าย่อยแรงสูง การบำรุงรักษาระบบไฟฟ้าภายในมหาวิทยาลัย ตลอดจนคำนวณหาจุดคุ้มทุนของ การก่อสร้างสถานีไฟฟ้าซึ่งพบว่าจุดคุ้มทุนอยู่ที่ 13.53 ปีen_US
dc.subjectสถานีไฟฟ้าย่อยแรงสูงen_US
dc.subjectสถานีไฟฟ้าแบบฉนวนอากาศen_US
dc.titleศึกษาและออกแบบสถานีไฟฟ้าย่อยแรงสูงนอกอาคารแบบฉนวนอากาศ สำหรับมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมen_US
Appears in Collections:Proceedings of the 11th NPRU National Academic Conference

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
บัญชา หิรัญสิงห์.pdf1.06 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.