Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/424
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสัณฐิติกวินสกุล, อรุณรัตน์-
dc.contributor.authorวัชรเทวินทร์กุล, ญาณิกา-
dc.date.accessioned2018-12-11T08:20:40Z-
dc.date.available2018-12-11T08:20:40Z-
dc.date.issued2558-03-30-
dc.identifier.urihttps://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/424-
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบฤทธิ์ต้านออกซิเดชันของชุมเห็ดไทย (ใบ)ผักกะสัง (ส่วนเหนือดิน) ต้อยติ่ง (ส่วนเหนือดิน) และหญ้าหมอน้อย (ลำต้นและราก) เก็บจากชุมชนโพรงมะเดื่อการทดสอบพฤกษเคมีเบื้องต้นหาประเภท ฟลาโวนอยด์ พบว่า สารสกัดทั้งหมดมีฟลาโวนอยด์เป็นองค์ประกอบทางเคมี ผลตรวจสอบเบื้องต้นหาสารต้านอนุมูลอิสระ พบว่า ทุกสารสกัดให้ผลบวกเมื่อวิเคราะห์ฤทธิ์ต้านออกซิเดชันของใบชุมเห็ดไทย รากหญ้าหมอน้อย ส่วนเหนือดินผักกะสัง และต้อยติ่ง และลำต้นหญ้าหมอน้อย ด้วยวิธี DPPH radical scavenging assay มีค่า IC50 เท่ากับ 420±0.009, 520±0.005, 530±0.009, 900±0.008 และ 1230±0.006 g/mLตามลำดับ เทียบกับ BHA เป็นสารมาตรฐาน มีค่า IC50 เท่ากับ 8.50.005g/mL สอดคล้องกับปริมาณฟีนอลิกรวมและปริมาณฟลาโวนอยด์รวม พบว่า ใบชุมเห็ดไทยมีค่า มากที่สุด มีค่าเท่ากับ 65.71±0.002 mgGAE/พืชแห้ง 1 กรัม และ 51.15±0.002 mgCE/พืชแห้ง 1 กรัม ตามลำดับดังนั้น ชุมเห็ดไทยซึ่งมีสารต้านออกซิเดชันเป็นองค์ประกอบ อาจนำไปพัฒนาเป็นน้ำดื่มสมุนไพรร่วมกับสมุนไพรชนิดอื่น เพื่อเสริม ฤทธิ์ต้านออกซิเดชันได้en_US
dc.subjectชุมเห็ดไทยen_US
dc.subjectต้อยติ่งen_US
dc.subjectผักกะสังen_US
dc.subjectหญ้าหมอน้อยen_US
dc.subjectต้านออกซิเดชันen_US
dc.titleการตรวจสอบฤทธิ์ต้านออกซิเดชันของสมุนไพรชุมชนโพรงมะเดื่อ: ชุมเห็ดไทย ต้อยติ่ง ผักกะสัง และหญ้าหมอน้อยen_US
Appears in Collections:Proceedings of the 11th NPRU National Academic Conference

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
อรุณรัตน์ สัณฐิติกวินสกุล.pdf1.41 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.