Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/219
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorนุชศิริ, กาญจนา-
dc.contributor.authorศิริสุขโภคา, อุบลรัตน์-
dc.date.accessioned2018-12-07T08:03:51Z-
dc.date.available2018-12-07T08:03:51Z-
dc.date.issued2559-03-31-
dc.identifier.urihttps://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/219-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง จำนวนนับไม่เกิน 100,000 เพื่อเพิ่ม ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยยึดรูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิด ของกานเย ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนภายหลังได้รับการเรียน ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 3) หาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ใน การวิจัย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนวัดทะเลบก อำเภอกำแพงแสน จังหวัดนครปฐม ซึ่งได้มาโดยวิธีการสุ่ม อย่างง่าย จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน และ 3) แบบประเมินความพึงพอใจ ผลการวิจัยพบว่าบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีประสิทธิภาพเท่ากับ 85.11/ 82.44 สูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนภายหลังได้รับการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนสูงกว่า ก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 นักเรียนที่ได้รับการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีความพึงพอใจ เฉลี่ยเท่ากับ 4.58 มีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.49 อยู่ในระดับมากที่สุดen_US
dc.subjectบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนen_US
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนen_US
dc.subjectรูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดของกานเยen_US
dc.titleการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง จำนวนนับไม่เกิน 100,000 เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยยึดรูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดของกานเยen_US
Appears in Collections:Proceedings of the 11th NPRU National Academic Conference

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
กาญจนา นุชศิริ.pdf887.72 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.