Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/195
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorศรีสิทธิโภคกุล, ณัฐพล-
dc.contributor.authorเรืองศรี, สุวิมล-
dc.contributor.authorแก้วขาว, จักรพงษ์-
dc.date.accessioned2018-12-07T07:01:57Z-
dc.date.available2018-12-07T07:01:57Z-
dc.date.issued2559-03-31-
dc.identifier.urihttps://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/195-
dc.description.abstractการศึกษาผลของ Er2O3 ที่เจือในแก้วโซดาลาร์มบอเรตต่อสมบัติทางกายภาพ และทางแสง ที่เตรียมจากสาร B2O3, Na2O, CaO, และ Er2O3 ตามสูตร (65-x)B2O3: 10CaO: 25Na2O: xEr2O3 เมื่อ x = 0.0, 0.5, 1.0, 1.5, 2.0 และ 2.5 ร้อยละ โดยโมล ค่าความหนาแน่นของแก้วมีค่าเพิ่มมากขึ้นเมื่อเพิ่มความเข้มข้นของ Er2O3 ซึ่งเกิดจากการเพิ่มขึ้นของมวลโมเลกุลของ Er2O3 ที่เข้าไปแทนที่ B2O3 เนื่องจากน้ำหนักโมเลกุลของ Er2O3 มีค่ามากกว่า B2O3 ค่าดรรชนีหักเหของแก้วมีค่าเพิ่มมากขึ้น เมื่อเพิ่มความเข้มข้นของ Er2O3 ซึ่งเป็นไปตามหลักทฤษฎีไดอิเล็กตริกแบบดั้งเดิม ซึ่งค่าดรรชนีหักเหจะขึ้นอยู่กับค่าความ หนาแน่น และสภาพการเกิดขั้วได้ของอะตอมในวัสดุ พีคการดูดกลืนแสงจะอยู่ในช่วงความยาวคลื่นประมาณ 379, 406, 450, 489, 524, 540, 652 และ 798 นาโนเมตร ซึ่งสอดคล้องกับการเกิดสีชมพูในการวัดในระบบสี CIE L*a*b* ค่าความแข็งของ แก้วตัวอย่างที่เติม Er2O3 ทุกตัว มีความแข็ง 5.5 โมลสเกลen_US
dc.subjectEr2O3en_US
dc.subjectแก้วโซดาลาร์มบอเรตen_US
dc.subjectสมบัติทางแสงen_US
dc.subjectดรรชนีหักเหen_US
dc.subjectทฤษฎีไดอิเล็กตริกแบบดั้งเดิมen_US
dc.titleผลของ Er2O3 ต่อคุณสมบัติทางกายภาพและคุณสมบัติทางแสงของแก้วโซดาลาร์มบอเรตen_US
Appears in Collections:Proceedings of the 11th NPRU National Academic Conference

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ณัฐพล ศรีสิทธิโภคกุล.pdf634.75 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.