Please use this identifier to cite or link to this item:
https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/177
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | วสุริย์, บุญธง | - |
dc.contributor.author | สอนสนิท, กัญญา | - |
dc.contributor.author | วัชรเทวินทร์กุล, ญาณิกา | - |
dc.date.accessioned | 2018-12-07T04:13:12Z | - |
dc.date.available | 2018-12-07T04:13:12Z | - |
dc.date.issued | 2559-03-31 | - |
dc.identifier.uri | https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/177 | - |
dc.description.abstract | การศึกษา เรื่อง แนวคิดเชิงระบบของการนำอุจจาระมาผลิตก๊าซชีวภาพ มีวัตถุประสงค์ เพื่อนำเสนอรูปแบบการเตรียม วัตถุดิบเพื่อการผลิตก๊าซชีวภาพจากมูลคน และแนวคิดหรือรูปแบบการผลิตก๊าซชีวภาพจากมูลคนในบ่อเกรอะ เป็นการศึกษา การนำอุจจาระมาเป็นวัตถุดิบสำหรับผลิตก๊าซชีวภาพที่ได้จากการขับถ่ายของคนที่ได้จากการกินอาหารที่หลากหลายแล้วถ่าย เก็บไว้ในบ่อเกรอะ และแสดงแนวคิดการผลิตก๊าซในบ่อเกรอะ ซึ่งอุจจาระในบ่อเกรอะถือว่าเป็นสิ่งปฏิกูลที่จะต้องถูกกำจัดโดย ดูดและนำไปทิ้ง ซึ่งการกำจัดต้องใช้งบประมาณและทรัพยากรต่าง ๆ ในการกำจัดสิ่งปฏิกูลดังกล่าว ดังนั้นการนำอุจจาระมาใช้ ประโยชน์ในรูปแบบต่าง ๆ โดยเฉพาะการนำมาผลิตเป็นก๊าซชีวภาพเป็นทางเลือกที่ดี เพราะสามารถนำอุจาระมาใช้ประโยชน์ได้ โดยตรง และไม่ต้องเสียทรัพยากรในการกำจัด อีกทั้งยังลดค่าใช้จ่ายค่าพลังงานได้อีกด้วย แต่การผลิตก๊าซชีวภาพจากอุจจาระนั้น ต้องปรับค่าอัตราส่วนของไนโตรเจนและคาร์บอนให้มีค่าอยู่ระหว่าง 20-30 และการใช้เชื้อจุลินทรีย์เชื้อ B. subtilis มาช่วยใน การย่อยสารอาหารเป็นก๊าซ ทั้งนี้เพื่อปรับสภาพอุจจาระให้เหมาะสมกับการผลิตก๊าซ เนื่องความแตกต่างของอาหารของคน และสัตว์ รวมถึงระยะเวลาในการหมักที่ทำให้เกิดก๊าซ โดยต้องมีการสร้างระบบการเก็บกาก การกรอง และการเก็บก๊าซที่เกิดขึ้น เพื่อให้สามารถนำไปใช้ประโยชน์อย่างปลอดภัย | en_US |
dc.subject | อุจจาระ | en_US |
dc.subject | ก๊าซชีวภาพ | en_US |
dc.title | แนวคิดเชิงระบบของการนำอุจจาระมาผลิตก๊าซชีวภาพ | en_US |
Appears in Collections: | Proceedings of the 11th NPRU National Academic Conference |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
บุญธง วสุริย.pdf | 2 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.