Please use this identifier to cite or link to this item:
https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1209
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | Yodkaew, Praepat | - |
dc.contributor.author | แพรภัทร ยอดแก้ว | - |
dc.date.accessioned | 2021-05-22T11:45:54Z | - |
dc.date.available | 2021-05-22T11:45:54Z | - |
dc.date.issued | 2020-07-09 | - |
dc.identifier.citation | เสาวนีย์ อารีจงเจริญ. (2556). รายงานวิจัยเรื่อง การศึกษาลวดลายผ้าทอโบราณของชนชาติลาวครั่ง บ้านโคกหม้อ จังหวัดอุทัยธานี. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร. | - |
dc.identifier.citation | แพรภัทร ยอดแก้ว. (2559). การศึกษาวิเคราะห์อัตลักษณ์ของชาติพันธุ์ลาวครั่ง ในเทศบาลตำบลโพรงมะเดื่อ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม. ในการประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ครั้งที่ 6 วันที่ 15-16 สิงหาคม 2559. สงขลา: มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา. | - |
dc.identifier.citation | แพรภัทร ยอดแก้ว. (2561). ประเพณีแห่ธงสงกรานต์ของชาติพันธุ์ลาวครั่ง ในเทศบาลตำบลโพรงมะเดื่อ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม. ในการประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ครั้งที่ 10 วันที่ 29-30 มีนาคม 2561. นครปฐม: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม. | - |
dc.identifier.citation | แพรภัทร ยอดแก้ว. (2561). ผ้าทอลาวครั่งลายดอกมะเดื่อ: ผ้าทอพื้นเมืองของกลุ่มชาติพันธุ์ลาวครั่ง ในเทศบาลตำบล โพรงมะเดื่อ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม. ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติและระดับชาติ ราชภัฏวิจัย ครั้ง ที่ 5 วันที่ 2-5 ธันวาคม 2561. เพชรบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี. | - |
dc.identifier.citation | แพรภัทร ยอดแก้ว. (2561). มะเดื่อ: เรื่องราวจากพระไตรปิฏกสู่อัตลักษณ์ชุมชนลาวครั่งในเทศบาลตำบลโพรงมะเดื่อ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม. ในการประชุมวิชาการนำเสนอผลงานวิจัยบัณฑิตศึกษา ระดับชาติ ประจำปี 2561 วันที่ 14 ตุลาคม 2561. นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย. | - |
dc.identifier.citation | ญาณภัทร ยอดแก้ว. 2559. รายงานวิจัยเรื่อง การสืบสานวัฒนธรรมวิถีพุทธของชาติพันธุ์ลาวครั่งตำบลห้วยด้วน อำเภอ ดอนตูม จังหวัดนครปฐม. นครปฐม: มหาวิทยาลัยราชภัฎนครปฐม. | - |
dc.identifier.citation | ทรงพล ต่วนเทศ. (2555). การศึกษาภูมิปัญญาการทอผ้าพื้นเมืองของคนไทยเชื้อสายลาวครั่งในจังหวัดสุพรรณบุรี ชัยนาท และอุทัยธานี. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาศิลปศึกษา. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. | - |
dc.identifier.citation | นุจิรา รัศมีไพบูลย์. (2549). โครงการการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานผลิตภัณฑ์ผ้าจกลาวครั่ง หมู่ที่ 4 บ้านทุ่ง ตำบลห้วย ขมิ้น อำเภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี. กรุงเทพมหานคร: รายงานวิจัย, มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต. | - |
dc.identifier.citation | บุญชม ศรีสะอาด. (2554). การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพมหานคร: สุวีริยาสาส์น. | - |
dc.identifier.citation | ประยุทธ์ จันทร์โอชา, พลเอก. (2557). คำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและ ราชกิจจานุเบกษา. | - |
dc.identifier.citation | ผ่องพรรณ ตรัยมงคลกูล และ สุภาพ ฉัตราภรณ์. (2555). การออกแบบการวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. | - |
dc.identifier.citation | ภัทริน กุสุพลนนท์. (2548). รายงานวิจัยเรื่อง การทอผ้าไทลื้อกลุ่มแม่บ้านบ้านธาตุสบแวน อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. | - |
dc.identifier.citation | รมิดา รอดสุข. (2553). รายงานวิจัยเรื่อง การทอผ้าลวดลายแบบดั้งเดิมของไทลื้อ: กรณีศึกษาลายผ้าห่มตำก้าว อำเภอ เชียงคำ จังหวัดพะเยา. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. | - |
dc.identifier.citation | รุจี ศรีสมบัติ. (2553). ผ้าทอลาวครั่ง: การอนุรักษ์ฟื้นฟูและพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าทอในวิถีชีวิต. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎี บัณฑิต สาขาวิชาวัฒนธรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. | - |
dc.identifier.citation | วิถี พานิชพันธุ์. (2547). ผ้าและสิ่งถักทอไท. กรุงเทพฯ: โอ เอส พริ้นติ้งเฮ้าส์. | - |
dc.identifier.citation | วิราวรรณ์ ชาติบุตร. (2546). วัฒนธรรมและแนวทางอนุรักษ์สิ่งทอพื้นถิ่นในวิถีชีวิตลาวครั่ง : กรณีศึกษาชุมชนในตำบล โคกหม้อ อำเภอทัพทัน จังหวัดอุทัยธานี. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาไทยศึกษา, มหาวิทยาลัย ราชภัฏธนบุรี. | - |
dc.identifier.citation | ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน). (2563). งานศิลปหัตถกรรมประเภทผ้าทอลาวครั่ง. https://www.sacict.or.th/uploads/items/attachments/e38c9a9b9ca7607ce912ab7fe7106f3d/_87aa 7741d4389267fdb491aae25db711.pdf | - |
dc.identifier.citation | สุพิศ ศรีพันธุ์. (2551). ภูมิปัญญาการทอผ้าของคนไทยเชื้อสายลาวครั่งในเขตอำเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการปกครองท้องถิ่น, มหาวิทยาลัยขอนแก่น. | - |
dc.identifier.citation | อัจฉรา สโรบล. (2561). แนวทางการพัฒนาภูมิปัญญาด้านสิ่งทอเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวของชุมชนทุ่งฟ้าฮ่าม อำเภอ เชียงแสน จังหวัดเชียงราย. วารสาร MFU Connexion, 7(1), 118-138. | - |
dc.identifier.uri | https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1209 | - |
dc.description.abstract | This research aims to 1. Study the wisdom of weaving and woven fabric products of the Lao Khrang ethnic group Phrong Madua Subdistrict, Muang District, Nakhon Pathom Province. 2. Study the Buddhist culture of Lao Khrang ethnic in Phrong Madua Subdistrict, Muang District, Nakhon Pathom Province. 3. Analyze the ways of preserving the Lao Khrang's woven cloth and the inheritance of the Buddhist culture of the Lao Khrang ethnic in Phrong Madua Subdistrict, Muang District, Nakhon Pathom Province. The sample was selected by purposive sampling from Laos Khrang weaving group Phrong Madua Subdistrict. The study revealed that 1. Weaving wisdom of the Laos Khrang ethnic group, Phrong Madua Subdistrict be preserved Inheritance and promotion by Phrong Madua Subdistrict. In which the Laos Khrang weaving group was established by focusing on preserving ancient weaving methods and patterns that reflect lifestyles that are bound to the environment Natural resources such as trees, flowers, streams, mountains and animals, etc. combine with the local identity and imagination of the weavers. Resulting in a beautiful fig flower pattern cloth used to cut into clothing and various appliances. 2. Buddhist culture of the Laos Khrang ethnic group, Phrong Madua Subdistrict, which is important for making merit on Buddha's Day and important Buddhist days, Songkran Flagship Festival, Traditions of making merit in the house and various rituals related to life such as birth, ordination, marriage and death etc. 3. Guidelines for the conservation of Laos Khrang's woven cloth and the inheritance of the Buddhist culture of the Laos Khrang ethnic group, Phrong Madua Subdistrict, Mueang District, Nakhon Pathom Province beginning with the policy of cultural preservation of the government passed on to the policy of the local government organization combined with the need to revitalize the weaving of the Laos Khrang ethnic groups in the community and academic participation, such as Nakhon Pathom Rajabhat University and Silpakorn University, leads to greater conservation. Including a campaign to use wovenfabrics sustained in the inheritance of the wisdom of Laos Khrang's woven cloths along with the Buddhist culture in the community. | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1.ศึกษาภูมิปัญญาด้านการทอผ้าและผลิตภัณฑ์ผ้าทอของกลุ่มชาติพันธุ์ลาวครั่ง เทศบาลตำบลโพรงมะเดื่อ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม 2.ศึกษาวัฒนธรรมวิถีพุทธของชาติพันธุ์ลาวครั่งในเทศบาลตำบล โพรงมะเดื่อ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม และ 3. วิเคราะห์แนวทางการอนุรักษ์ผ้าทอลาวครั่งกับการสืบสานวัฒนธรรมวิถี พุทธของชาติพันธุ์ลาวครั่งในเทศบาลตำบลโพรงมะเดื่อ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม โดยใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธี เลือกแบบเจาะจง คือ กลุ่มทอผ้าลาวครั่ง เทศบาลตำบลโพรงมะเดื่อ ผลการศึกษา พบว่า 1. ภูมิปัญญาด้านการทอผ้าของกลุ่มชาติพันธุ์ลาวครั่งเทศบาลตำบลโพรงมะเดื่อ ได้รับการอนุรักษ์ สืบสานและ ส่งเสริมโดยเทศบาลตำบลโพรงมะเดื่อ ซึ่งมีการจัดตั้งกลุ่มทอผ้าลาวครั่งขึ้น โดยเน้นอนุรักษ์วิธีการทอผ้าและลวดลายผ้าแบบ โบราณที่มีการสะท้อนถึงวิถีชีวิตที่ผูกพันกับสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ เช่น ต้นไม้ ดอกไม้ สายน้ำ ภูเขา และสัตว์ เป็นต้น ผสมผสานกับอัตลักษณ์ท้องถิ่นและจินตนาการของช่างทอผ้า เกิดเป็นผลิตภัณฑ์ผ้าทอลายดอกมะเดื่อที่สวยงาม นำไปตัดเย็บ เป็นเครื่องนุ่งห่มและเครื่องใช้สอยต่างๆ 2. วัฒนธรรมวิถีพุทธของกลุ่มชาติพันธุ์ลาวครั่งเทศบาลตำบลโพรงมะเดื่อที่สำคัญ ได้แก่ การทำบุญในวันพระและวัน สำคัญทางพระพุทธศาสนา ประเพณีแห่ธงสงกรานต์ ประเพณีการทำบุญกลางบ้าน และพิธีกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับชีวิต เช่น การเกิด การบวช การแต่งงาน และการตาย เป็นต้น 3. แนวทางการอนุรักษ์ผ้าทอลาวครั่งกับการสืบสานวัฒนธรรมวิถีพุทธของกลุ่มชาติพันธุ์ลาวครั่งเทศบาลโพรงมะเดื่อ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม มีจุดเริ่มต้นจากนโยบายด้านการอนุรักษ์ทางวัฒนธรรมของภาครัฐ ส่งต่อมาถึงนโยบายของ องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น ประกอบกับความต้องการฟื้นฟูเรื่องการทอผ้าของกลุ่มชาติพันธุ์ลาวครั่งในชุมชน และการมีส่วน ร่วมของภาควิชาการ เช่น มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม และมหาวิทยาลัยศิลปากร จึงทำให้เกิดการขับเคลื่อนการอนุรักษ์ขึ้น แต่ควรมีการรณรงค์ส่งเสริมให้มีการใช้ผ้าทอลาวครั่งในประเพณีและพิธีกรรมต่างๆ ทางพระพุทธศาสนาอย่างต่อเนื่อง เพื่อ สร้างความยั่งยืนในการสืบสานภูมิปัญญาผ้าทอลาวครั่งควบคู่กับวัฒนธรรมวิถีพุทธในชุมชน | - |
dc.publisher | Nakhon Pathom Rajabhat University | en_US |
dc.subject | Laos Khrang's woven cloths | en_US |
dc.subject | conservation | en_US |
dc.subject | Buddhist | en_US |
dc.subject | Cultural | en_US |
dc.subject | Heritage | en_US |
dc.subject | Laos Khrang Ethnic Group | en_US |
dc.title | The conservation of Laos Khrang's woven cloths and Buddhist Cultural Heritage of Laos Khrang Ethnic in Phrong Madua Subdistrict Muang District Nakhon Pathom Province | en_US |
dc.title | การอนุรักษ์ผ้าทอลาวครั่งกับการสืบสานวัฒนธรรมวิถีพุทธของชาติพันธุ์ลาวครั่งในเทศบาล ตำบลโพรงมะเดื่อ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม | - |
dc.type | Article | en_US |
Appears in Collections: | Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
การอนุรักษ์ผ้าทอลาวครั่งกับการสืบสานวัฒนธรรมวิถีพุทธของชาติพันธุ์ลาวครั่งในเทศบาล.pdf | 278.46 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.