Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1208
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorTakulsom, Supintip-
dc.contributor.authorสุภิญทิพย์ ตระกูลสม-
dc.date.accessioned2021-05-22T05:42:08Z-
dc.date.available2021-05-22T05:42:08Z-
dc.date.issued2020-07-09-
dc.identifier.citationจันทร์แรม เรือนแป้น. (2556: 2) การบริหารงบประมาณของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต-
dc.identifier.citationพนัส หันนาคินทร์. (2524: 24) หลักการบริหารโรงเรียน. กรุงเทพมหานคร : วัฒนาพานิช.-
dc.identifier.citationอภิชัย พันธเสน และคณะ. (2558: หน้าบทคัดย่อ) การสังเคราะห์งานวิจัยว่าด้วยปัญหาและข้อเสนอแนะในกระบวนการ จัดการศึกษาไทย ประเด็นปัญหาคุณภาพการศึกษา.กรุงเทพมหานคร-
dc.identifier.citationCohen. L., Manion, L, & Morrison, K. (2011: 147). Research methods in education (7th ed.). New York: Routledge.-
dc.identifier.citationวีระพงษ์ ก้านกิ่ง. (2560: บทคัดย่อ) สภาพและปัญหาการบริหารงบประมาณของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 29. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี-
dc.identifier.citationชัยรัตน์ เงินเนื้อดี. (2560: บทคัดย่อ) สภาพและปัญหาการบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำแหง-
dc.identifier.citationบุญยวีร์พัฒน์ ธนกิตติโชค. (2559: 156) สภาพการบริหารงบประมาณของสถานศึกษาในสหวิทยาเขตเมืองบุรีรัมย์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์-
dc.identifier.citationภัสราวดี เกตุนะ. (2560: 86) การศึกษาสภาพการบริหารงานงบประมาณของโรงเรียนในสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36 จังหวัดเชียงราย. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยพะเยา-
dc.identifier.citationวณิชาภา ฐปนสิทธางกูร. (2558: 5) ความคิดเห็นของข้าราชการครูที่มีต่อการบริหารงานของผู้บริหารสถานศึกษา โรงเรียน อบจ. บ้านตลาดเหนือ สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดภูเก็ต.วิทยานิพนธ์ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง-
dc.identifier.citationซุบรี ม่วงกุ้ง. (2558: 85) การบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต. วิทยานิพนธ์ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยหาดใหญ่-
dc.identifier.citationCampbell and others. (1958: 156) Introduction to Education Administration. Boston : Allen and Bacon Inc.-
dc.identifier.citationMcGaffney, C.W. (1980: 15) Competencies Needed by Chief School Bushes Administrators. Park Ridge, IL : Association of School Business Officials of the United States and Canada-
dc.identifier.urihttps://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1208-
dc.description.abstractThe objectives of this study were to investigate the government teachers’ opinions about budget management and to compare the government teachers’ opinions about budget management. The participants were 132 government teachers in school group 6 under the secondary educational service area office 1 classified by educational background and working experience. The instrument used was 40- item questionnaires.The statistics employed for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, T-test, and One-Way ANOVA. The findings revealed as follows : 1)The government teachers’ opinions about budget management in school group 6 under the secondary educational service area office 1 had the overall opinions were in the high level. 2)The comparison of opinions of the government teachers having different educational backgrounds about budget management in school group 6 under the secondary educational service area office 1 revealed that the overall opinions on budget planning were different. 3 ) The government teachers having different working experience had different opinions about budget planning and procurement management with a statistically significant difference at 0.05 level.en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความความคิดเห็นของข้าราชการครูที่มีต่อการบริหารงบประมาณ 2) เปรียบเทียบความคิดเห็นของข้าราชการครูที่มีต่อการบริหารงบประมาณ จำแนกตามระดับการศึกษาและประสบการณ์ การทำงาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ คือ ข้าราชการครู ในกลุ่มโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 กลุ่ม 6 จำนวน 132 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม จำนวน 40 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่า t (t – test) และการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว (One-Way ANOVA) ผลการวิจัยพบว่า 1) ความคิดเห็นของข้าราชการครูที่มีต่อการบริหารงบประมาณ ในกลุ่มโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 กลุ่ม 6 ข้าราชการครูมีความคิดเห็นโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก 2) ผลการเปรียบเทียบความ คิดเห็นของข้าราชการครูที่มีต่อการบริหารงบประมาณที่มีระดับการศึกษาต่างกัน ในกลุ่มโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 กลุ่ม 6 ข้าราชการครูที่มีระดับการศึกษาที่แตกต่างกัน มีความคิดเห็นต่อภาพรวมและด้าน การวางแผนงบประมาณแตกต่างกัน 3) ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของข้าราชการครูที่มีต่อการบริหารงบประมาณที่มี ประสบการณ์การทำงานต่างกันมีความคิดเห็นต่อการบริหารงบประมาณ ด้านการวางแผนงบประมาณและ ด้านการจัดระบบ การจัดซื้อจัดจ้างแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05-
dc.publisherNakhon Pathom Rajabhat Universityen_US
dc.subjectBudget Managementen_US
dc.subjectGovernment Teachers’ Opinionsen_US
dc.subjectSecondary Educationen_US
dc.titleThe Government Teachers’ Opinions on Budget Management in School Group 6 under the Secondary Educational Service Area Office 1en_US
dc.titleความคิดเห็นของข้าราชการครูที่มีต่อการบริหารงบประมาณ ในกลุ่มโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 กลุ่ม 6-
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.