Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1201
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorBuratavorn, Kasidach-
dc.contributor.authorPumpinyo, Sumalee-
dc.contributor.authorกษิดิ์เดช บุรถาวร-
dc.contributor.authorสุมาลี พุ่มภิญโญ-
dc.date.accessioned2021-05-21T12:12:26Z-
dc.date.available2021-05-21T12:12:26Z-
dc.date.issued2020-07-09-
dc.identifier.citationกฎกระทรวงฉบับที่ 7. พระราชบัญญัติควบคุมการก่อสร้างอาคาร. พุทธศักราช 2479 กรมขนส่งทางบก. (พ.ศ. 2561)-
dc.identifier.citationกิตตินันท์ คนขยัน. (2547). ความสัมพันธ์และพฤติกรรมการใช้ที่จอดรถของผู้อยู่อาศัยรายได้น้อยถึงปานกลาง ในอาคารอยู่ อาศัยรวมที่เป็นอาคารขนาดใหญ่ : กรณีศึกษาอาคารชุดในเขตกรุงเทพ :วิทยานิพนธ์ปริญญาเคหพัฒนศาสตร มหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.identifier.citationข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร. เรื่องควบคุมอาคาร. พุทธศักราช 2544-
dc.identifier.citationคำแหง ทองอินทร์. (2551). การจัดให้มีที่จอดรถและการใช้พื้นที่จอดรถในโครงการบ้านเอื้ออาทรบึงกุ่มกรุงเทพมหานคร : วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต.สถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.identifier.citationฉัตรชัย ตั้งมหาสถิตกุล. (2553). สภาพการใช้ที่จอดรถของอาคารชุดพักอาศัยที่เป็นอาคารขนาดใหญ่ในแนวรถไฟฟ้า: กรณีศึกษาอาคารชุดพักอาศัยขนาดใหญ่บนถนนสุขุมวิท :วิทยานิพนธ์ปริญญาเคหพัฒนศาสตรมหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.identifier.citationชูชีพ พิพัฒนศิถี. (2544). เศรษฐศาสตร์การวิเคราะห์โครงการ. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร: บริษัท เท็กซ์ แอนด์ เจอร์นัล พับบลิเคชั่น จำกัด.-
dc.identifier.citationชนาธิป อมรชีวิน. (2559). การศึกษาความเป็นไปได้ในธุรกิจออนเซ็น ในอำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี :วิทยานิพนธ์. เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.-
dc.identifier.citationญาณิกา จัตตุพร. (2559). การศึกษาความเป็นไปได้ในการลงทุนอาคารที่จอดรถ บริเวณ ตลาดรวมใจ (เมืองทองธานี) :ค้นคว้า อิสระ. เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.-
dc.identifier.citationนพรัตน์ พิริยเลิศศักดิ์. (2555). ที่จอดรถในย่านศูนย์กลางธุรกิจของเมืองเก่า กรณีศึกษาย่านถนนเยาวราช กรุงเทพมหานคร : วิทยานิพนธ์ปริญญาเคหพัฒนศาสตรมหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.identifier.citationประสิทธิ์ ตงยิ่งศิริ. (2542). การวางแผนและการวิเคราะห์โครงการ. กรุงเทพมหานคร สำนักพิมพ์บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน) ศูนย์วิจัยไนท์แฟรงค์. http://thailand-property-news.knightfrank.co.th/-
dc.identifier.citationหฤทัย มีนะพันธ์. (2550). หลักการวิเคราะห์โครงการ : ทฤษฎีและวิธีปฏิบัติเพื่อศึกษาความเป็นไปได้ขอโครงการ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.-
dc.identifier.urihttps://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1201-
dc.description.abstractThis study aimed to explore the financial feasibility and conduct the sensitivity study of the parking spaces construction project for rent in Bangkok. The data collection was made from primary source by interview with the entrepreneurs regarding the automated parking spaces construction, and from secondary sources, such as books, articles, online media, and related websites. The research instrument was the financial feasibility analysis of the project. The main criteria, considered in making investment decision, consisted of Net Present Value (NPV), Benefit-to-Cost Ratio (BCR), and Internal Rate of Return (IRR) of the project. The study found that the project was expected to deliver a positive value to its investors because the project had the Net Present Value (NPV) at 32,421,404, Benefit-to-Cost Ratio (BCR) at 1.42, and Internal Rate of Return (IRR) at 11 percent. As to the situation under the project sensitivity, even though and 15 percent respectively, the project was still worth the investment. However, when the returns decreased up to 20 percent, the project will not be worth the investment.en_US
dc.description.abstractการศึกษาความเป็นไปได้ในการลงทุนสร้างที่จอดรถยนต์ให้เช่า ในเขตกรุงเทพมหานคร มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ความเป็นไปได้ทางการเงิน และเพื่อศึกษาความอ่อนไหว (Sensitivity Study) ของโครงการสร้างที่จอดรถยนต์ให้เช่า ในเขต กรุงเทพมหานคร โดยใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลทางด้านปฐมภูมิและทุติยภูมิ ได้แก่ การค้นคว้าข้อมูลต่าง ๆ จากหนังสือ บทความ สื่อออนไลน์ และเว็บไซด์ที่เกี่ยวข้อง และสัมภาษณ์สอบถามผู้ประกอบการที่เกี่ยวกับสร้างที่จอดรถยนต์อัตโนมัติ สำหรับเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือ การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ทางการเงินของโครงการ โดยมีเกณฑ์ที่ใช้ในการตัดสินใจ ลงทุน คือ มูลค่าปัจจุบันสุทธิ (NPV) อัตราส่วนผลประโยชน์ต่อต้นทุน (BCR) และอัตราผลตอบแทนภายในของโครงการ (IRR) ผลการศึกษาพบว่า โครงการมีความคุ้มค่าในการลงทุน โดยมีมูลค่าปัจจุบันสุทธิ (NPV) เท่ากับ 32,421,404 อัตราส่วน ผลประโยชน์ต่อต้นทุน (BCR) เท่ากับ 1.42 อัตราผลตอบแทนภายในของโครงการ (IRR) เท่ากับร้อยละ 11 และเมื่อพิจารณา สถานการณ์ภายใต้ความอ่อนไหวของโครงการ แม้ว่าประโยชน์ลดลงร้อยละ 10 และร้อยละ15 ตามลำดับ โครงการยังมีความ คุ้มค่าในการลงทุน แต่เมื่อผลประโยชน์ลดลงร้อยละ 20 โครงการจะไม่มีความคุ้มค่าในการลงทุน-
dc.publisherNakhon Pathom Rajabhat Universityen_US
dc.subjectParking spaces for renten_US
dc.subjectProject feasibility studyen_US
dc.subjectAutomated – parkingen_US
dc.titleA Feasibility of Investment in Construction of Parking Spaces for Rent in Bangkoken_US
dc.titleการศึกษาความเป็นไปได้ในการลงทุนสร้างที่จอดรถยนต์ให้เช่า ในเขตกรุงเทพมหานคร-
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.