Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1188
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorSASTSARA, SASINAN-
dc.contributor.authorศศินันท์ ศาสตร์สาระ-
dc.date.accessioned2021-05-21T03:00:50Z-
dc.date.available2021-05-21T03:00:50Z-
dc.date.issued2020-07-09-
dc.identifier.citationกรมกิจการผู้สูงอายุ (ผส.) (2563) กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) สืบค้น 10 มีนาคม 2563,จาก http://www.dop.go.th/th/know/side/1/1/275-
dc.identifier.citationจิณณรัตน์ วราบุญนาคภิรมย์. (2558).การเตรียมความพร้อมการเกษียณอายุของพนักงาน บริษัท ยูเซ็น โลจิสติกส์ (ประเทศไทย) จำกัด.สารนิพนธ์ระดับปริญญาโท หลักสูตรพัฒนาแรงงานและสวัสดิการมหาบัณฑิต ภาควิชาสังคม สงเคราะห์ศาสตร์ คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์-
dc.identifier.citationตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย.(2559).วางแผนเกษียณ. สืบค้น 12 มีนาคม2563, จาก http://www.set.or.th/ education/th/start/start_start_3_5.pdf-
dc.identifier.citationตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย.(2559).วางแผนเกษียณ. สืบค้น 12 มีนาคม2563, จาก http://www.set.or.th/set/ financialplanning/knowledgedetail.do?contentId=535&type=article-
dc.identifier.citationตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย.(2563) เงินทองต้องวางแผน หลังเกษียณ...มีรายได้จากแหล่งไหนบ้าง สืบค้น 12 มีนาคม 2563, จ า ก https://www.set.or.th/set/financialplanning/lifeevent.do?name=lifeevent_detail_ postretire-3&innerMenuId=47-
dc.identifier.citationพลอยพัชร์ กิจเจริญเกษม. บทความวิจัยเรื่อง การเตรียมความพร้อมเพื่อการเกษียณอายุ ของพนักงานธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน). วารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ ภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2559)-
dc.identifier.citationรพี สุจริตกุล. (2559). ก.ล.ต.ชี้คนเกษียณกว่า 50% มีเงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ใช้เดือนละไม่ถึง 4,000 บาท.สืบค้น 12 มีนาคม 2563,จาก https://www.matichon.co.th/economy/news_271960-
dc.identifier.citationวรชัย สิงหฤกษ์และคณะ.(2560). บทความวิจัยเรื่อง การเตรียมความพร้อมในการเกษียณอายุงานของเจ้าหน้าที่ชุมนุม สหกรณ์ ออมทรัพย์แห่งประเทศไทย จำกัด : การศึกษาแบบสร้างทฤษฏีฐานราก.วารสารอิเล็กทรอนิกส์. สืบค้น 12 มีนาคม 2563. จาก http://e-jodil.stou.ac.th ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2560)-
dc.identifier.citationศิริลักษณ์ วรรณกุลและนงค์นิต จันทร์จรัส.(2559) บทความวิจัยเรื่อง พฤติกรรมการวางแผนทางการเงินเพื่อวัยเกษียณของ ผู้มีเงินได้อายุระหว่าง 22-60 ป ในเขตพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี.ประชุมวิชาการทางธุรกิจและนวัตกรรม ทางการจัดการ ระดับชาติและนานาชาติ ประจำป 2559 (NICBMI2016)-
dc.identifier.citationสยาม เกิดจรัส.(2562). บทความวิจัยเรื่อง การวางแผนการเงินส่วนบุคคลเพื่อวัยเกษียณ : กรณีศึกษาชุมชนการเคหะ ท่าทราย กรุงเทพมหานคร. วารสารสุทธิปริทัศน์. ปีที่ 32 ฉบับที่ 102 (เมษายน –มิถุนายน 2561)-
dc.identifier.citationCochran,W.G. (1997). Sampling techniques. (3rd ed). New York: John Wiley and Sons.-
dc.identifier.citationHallman,G.V., & Rosenbloom,J. (2000). Persanal financial management. Nee Jersey:Kindle.-
dc.identifier.urihttps://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1188-
dc.description.abstractThe purposes of this research are 1) To study the personal financial planning for retirement preparation of employees of private companies in Phra Nakhon Si Ayutthaya province and 2) To compare the differences between personal factors on retirement preparation for private company employees in Phra Nakhon Si Ayutthaya Province. This research is a survey research that the data were collected by questionnaires. The sample used in this study was 400 private company employees in Phra Nakhon Si Ayutthaya Province and the obtained data were analyzed by using descriptive statistics and inferential statistics. The results of the research showed that the level of financial planning for retirement preparation was at a high level that the hypothesis testing found that different age and monthly expenses factors had different effects on retirement preparation at statistical significance of 0.05en_US
dc.description.abstractงานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย 1) เพื่อศึกษาการวางแผนการเงินส่วนบุคคลต่อการเตรียมความพร้อมใน การเกษียณอายุของของพนักงานบริษัทเอกชนในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา 2) เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างปัจจัย ส่วนบุคคลต่อการเตรียมความพร้อมเพื่อการเกษียณอายุของพนักงานบริษัทเอกชนในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม ตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาคือพนักงานบริษัทเอกชนใน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จำนวน 400 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาและสถิติเชิงอนุมาน ผลการวิจัยพบว่า ระดับ การวางแผนทางการเงินเพื่อเตรียมความพร้อมการเกษียณอยู่ในระดับมาก ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ปัจจัยด้านอายุ และค่าใช้จ่ายต่อเดือนที่แตกต่างกันมีผลต่อการเตรียมความพร้อมเพื่อการเกษียณอายุที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ 0.05-
dc.publisherNakhon Pathom Rajabhat Universityen_US
dc.subjectPersonal Financial Planningen_US
dc.subjectRetirement Preparationen_US
dc.subjectRetirementen_US
dc.titlePersonal Financial Planning for Retirement Preparation of Employees of Private Companies in Phra Nakorn Si Ayutthaya Provinceen_US
dc.titleการวางแผนการเงินส่วนบุคคลเพื่อเตรียมความพร้อมการเกษียณอายุ ของพนักงานบริษัทเอกชนในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา-
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.