Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1156
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorYodkaew, Yanapat-
dc.contributor.authorญาณภัทร ยอดแก้ว-
dc.date.accessioned2021-05-19T14:34:11Z-
dc.date.available2021-05-19T14:34:11Z-
dc.date.issued2020-07-09-
dc.identifier.citationกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น. (2546). คู่มือบ้านเมืองน่าอยู่. กรุงเทพฯ : กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น.-
dc.identifier.citationกลุ่มงานจัดการสิ่งแวดล้อมศิลปกรรม. (2562). รายงานผลการดำเนินงานประจำปีพ.ศ. 2561 หน่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: ม.ป.พ.-
dc.identifier.citationกองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดนครปฐม. (2562). แผนเผชิญเหตุภัยแล้งจังหวัดนครปฐม 2563. นครปฐมะ ม.ป.พ.-
dc.identifier.citationจังหวัดนครปฐม.(2562). จังหวัดนครปฐมจัดพิธีวันที่ระลึกพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวฯ. คันหาเมื่อ 1 มิถุนายน 2563 จ1 http://www.nakhonpathom.go.th/gallery/detail/1121-
dc.identifier.citationชนัญ วงษ์วิภาค. (2532). นิเวศวัฒนธรรม. กรุงเทพฯะ มหาวิทยาลัยศิลปากร.-
dc.identifier.citationชุมชนมหาสวัสดิ์(2562). ประวัติคลองมหาสวัสดิ์. คันหาเมื่อ 1 มิถุนายน 2563 จาก http:/www.mahasawat.com/history-
dc.identifier.citationไชยยันต์ กัมปนาทแสนยากร (2540). แนวคิดและหลักการดำเนินงานเมืองน่าอยู่. กรุงเทพฯ: กรมอนามัย กระทรวง สาธารณสุข.-
dc.identifier.citationมูลนิธิโครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน. (2563). การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม. คันหาเมื่อ 1 มิถุนายน 2563 จกhttp://saranukromthai.or.th/sub/book/book.php?book=16&chap=5&page=t16-5-infodetail 05.html-
dc.identifier.citationสิทธิพร ภิรมย์รื่น. (2547). การอนุรักษ์ชุมขนเมืองและสภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรม: แนวคิด หลักการ และผลการปฏิบัติ. วารสารหน้าจั่ว, 46-47 (20), 22-30.-
dc.identifier.citationสำนักงานจังหวัดนครปฐม. (2560). บรรยายสรุปจังหวัดนครปฐม ปี 2560. นครปฐม : ม.ป.พ.-
dc.identifier.citationสำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดนครปฐม. (2562). รายงานผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ของสำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. นครปฐมะ ม.ป.พ.-
dc.identifier.citationสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. (2559). คู่มือแนวทางการจัดการสิ่งแวดล้อมศิลปกรรมเพื่อ ลดผลกระทบด้านภูมิทัศน์. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัด เรือนแก้วการพิมพ์.-
dc.identifier.citationสำนักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 5 (นครปฐม). (2562). เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อบูรณาการความร่วมมือ เฝ้าระวังคุณภาพน้ำคลองเจดีย์บูชา ประจำปีงบประมาณ 2562คันหาเมื่อ 1 มิถุนายน 2563 จาก http://www.mnre.go.th/reo05/th/news/detail/40004-
dc.identifier.citationสำนักจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม) 2559 (แม่น้ำ คู คลอง สิ่งแวดล้อมธรรมชาติอันควรอนุรักษ์ เอกลักษณ์ สังคมไทย. ค้นหาเมื่อ จาก 2563 มิถุนายน 1http://www.onep.go.th/nced/wp-content/uploads/ 2016/09/Natural.pdf-
dc.identifier.citation. (2560). คู่มือการดำเนินงานอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม ในระดับท้องถิ่น. สำนักงานนโยบาย และแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. ศูนย์วัฒนธรรมอำเภอเมืองนครปฐม. (2551). ตำนานพระปฐมเจดีย์. ค้นหาเมื่อ 1 มิถุนายน 2563 จาก htps:// emis.christian.ac.th/ctc/Conservart/Conservart/Papathomjadee/Papathomjade.html-
dc.identifier.urihttps://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1156-
dc.description.abstractThis article is a collection of knowledge and information about Chedi Bucha Canal in Nakhon Pathom Province and presenting aspects of Chedi Bucha Canal conservation. This article emphasizes the promotion of the inheritance of historical and cultural values in remembrance of the King Rama IV 's generosity, As well as promoting the preservation of the environment of Chedi Bucha Canal, maintained in a condition and atmosphere that supports the quality of life and way of life of the people along the canal. From the study found that Chedi Bucha Canal is a canal that was excavated by the royal faith of Rama IV, which granted 600 royal assets, hiring Chinese People to dig up the canal as a way to worship Phra Pathom Chedi and promote transportation to be more convenient. This canal has a length of 24 kilometers. Nowadays, the problem of canals is that the water quality is very deteriorated because factories, shops and communities release waste water into the canal. And the agricultural sector uses agricultural chemicals causing the water that enters the canal to become contaminated with chemicals. An important conservation approach is using the concept of the power of "Boworn", which means cooperation between Ban (Houses), Wat (Temples) and Rongrian (Schools). In addition, the steps in the process include promoting awareness, cultivating good attitudes, creating good values for canals, restoring lifestyles and cultures along the canal and a campaign to preserve water and environment quality along the Chedi Bucha Canal.en_US
dc.description.abstractบทความนี้ เป็นการรวบรวมองค์ความรู้ และข้อมูลที่เกี่ยวช้องกับคลองเจดีย์บูชา จังหวัดนครปฐม และการนำเสนอ แง่มุมด้านการอนุรักษ์คลองเจดีย์บูชาโดยเน้นส่งเสริมการสืบสานคุณค่าทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม น้อมรำลึกพระมหา กรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 รวมทั้งส่งเสริมการรักษาสิ่งแวดล้อมของคลองเจดีย์บูชาให้ คงอยู่ในสภาพและบรรยากาศที่เกื้อกูลต่อคุณภาพชีวิตและวิถีชีวิตของประชาชนริมคลอง รวมถึงนักท่องเที่ยวที่มาเยือน จากการศึกษา พบว่า คลองเจดีย์บูซา เป็นลำคลองที่ขุดขึ้นด้วยพระราชศรัทธาของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ซึ่งพระราชทานพระราชทรัพย์ จำนวน 600 ชั่ง จ้างชาวจีนให้ขุดคลองขึ้น เพื่อเป็นทางเสด็จมานมัสการ องค์พระปฐมเจดีย์ และส่งเสริมให้การคมนาคมทางเรือมีความสะดวกมากยิ่งขึ้น โดยมีระยะทางยาว 24 กิโลเมตร ปัจจุบัน สภาพของคลองมีปัญหาสำคัญ คือ เรื่องคุณภาพน้ำที่เสื่อมโทรมมาก เพราะการปล่อยน้ำเสียจากโรงงาน ร้านค้า บ้านเรือน ประชาชน และภาคเกษตรกรรมที่ใช้สารเคมีทางกรเกษตรทำให้น้ำที่ลงสู่ลำคลองมีการปนเปื้อนสารเคมีด้วย แนวทางการอนุรักษ์ที่สำคัญ คือ การใช้พลัง "บวร" หมายถึง พลังความร่วมมือจากบ้าน คือ ชุมชนและองค์การ ปกครองส่วนท้องถิ่น วัด และโรงเรียน หรือสถานศึกษานพื้นที่ริมคลองร่วมกัน โดยมีขั้นตอน ได้แก่ การสร้างการรับรู้ การ ปลูกฝังจิตสำนึก การสร้างค่านิยมรักคลอง การฟื้นคืนวิถีชีวิตและวัฒนธรรมริมคลอง และการรณรงค์การรักษาคุณภาพน้ำและ สิ่งแวดล้อมริมคลองเจดีย์บูชา-
dc.publisherNakhon Pathom Rajabhat Universityen_US
dc.subjectConservationen_US
dc.subjectRiver of Royal Faithen_US
dc.subjectChedi Bucha Canalen_US
dc.titleThe Conservation of Chedi Bucha Canal: the Sustainable Inheritance and Preservation of the River of Royal Faithen_US
dc.titleการอนุรักษ์คลองเจดีย์บูชา: สืบสานและรักษาสายน้ำแห่งพระราชศรัทธาสู่ความยั่งยืน-
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.