Please use this identifier to cite or link to this item:
https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1152
Title: | Competency of vocational teachers in learning innovation in the 4.0 era สมรรถนะครูผู้สอนอาชีวศึกษาด้านนวัตกรรมการเรียนรู้ ในยุค 4.0 |
Authors: | Khamthian, Chumpon Yuenyaw, Pitchayapa ชุมพล คำเทียน พิชญาภา ยืนยาว |
Keywords: | Teacher competency Learning innovation in the 4.0 era vocational education |
Issue Date: | 9-Jul-2020 |
Publisher: | Nakhon Pathom Rajabhat University |
Citation: | กฤษมันต์ วัฒนาณรงค์ (2552). นวัตกรรมกับการเรียนรู้เพื่ออาชีวศึกษา. ค้นเมื่อ 26 มีนาคม 2563, เข้าถึง ได้จาก
https://www.thairath.co.th/content/29615 นรรัชต์ ฝันเชียร(2562). การเรียนการสอนในยุค 4.0 ต้องเป็นอย่างไร. ค้นเมื่อ 11 มีนาคม 2563, เข้าถึง ได้จาก https://www.trueplookpanya.com ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ(2561). มาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561. คันเมื่อ 27 มีนาคม 2563, เข้าถึง ได้จาก http://www.ratchakitcha.soc.go.th สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา(2560), แผนพัฒนาการอาชีวศึกษา. พ.ศ. 2560-2579. พิมพ์ครั้งที่ 1 สุไม บิลไบ(2558). สมรรถนะของครูผู้สอนในศดวรรษที่ 21 ที่กระทรวงศึกษาธิการกำหนด. ค้นเมื่อ 8 เมษายน 2563, เข้าถึง ไต้จาก https://drsumaibinbai.wordpress.com/2015/11/25 |
Abstract: | Office of the Vocational Education Commission Is the main organization that produces and
develops vocational manpower to have quality and standards into the labor market Especially in the
industrial sector that will change the lead Bring technology to replace people Bring machinery for
production In which people will be responsible for mechanical control Emphasizing the value-added
design and creative industry Requires less labor, low cost Change into products that focus on technology
and innovation. Produce high quality products with high economic value. Resulting in higher incomes
than investing in traditional industrial systems Therefore must produce people to support advanced
technology, resulting in increasing the country's competitiveness
For this reason, teachers in vocational schools need to develop knowledge. And skills in studying
Serious teaching To be a complete vocational teacher in the 4.0 era Which the goal is to be a person of
learning innovation in the 4.0 era, consisting of learning and innovation skills Information skills Media
and technology And life skills and career in all three areas are absolutely necessary skills And
vocational teachers must have knowledge, understanding and practical skills And good attitude
Including the competencies and basic capabilities in information and communication technology needed
for education Creative application สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เป็นองค์กรหลักที่ผลิตและพัฒนากำลังคนอาชีวศึกษาให้มีคุณภาพและ มาตรฐานเข้าสู่ตลาดแรงงาน โดยเฉพาะในภาคอุตสาหกรรมที่จะปรับเปลี่ยนนำเอาเทคโนโลยีเข้ามาใช้แทนคน นำเครื่องจักร มาใช้ในการผลิต โดยคนจะทำหน้าที่ในการควบคุมเครื่องจักรกล เน้นอุตสาหกรรมการออกแบบและความคิดสร้างสรรค์ที่ให้ มูลค่าสูง ใช้แรงงนน้อยตันทุนต่ำ ปรับเปลี่ยนเป็นผลิตภัณฑ์ที่น้นทคโนโลยีและนวัตกรรม ผลิตสินค้าคุณภาพสูงและมีมูลค่า ทางเศรษฐกิจสูง ก่อให้เกิดรายได้สูงกว่าการลงทุนในระบบอุตสาหกรรมเดิมๆ จึงต้องผลิตคนเพื่อรองรับเทคโนโลยีขั้นสูงส่งผล ต่อการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ด้วยเหตุนี้ครูผู้สอนในสถานศึกษาอาชีวศึกษาจึงมีความจำเป็นที่ต้องมีการพัฒนาความรู้ และทักษะความสามารถใน การเรียน การสอนอย่างจริงจัง เพื่อให้เป็นครูอาชีวศึกษาในยุค 4.0 ได้อย่างสมบูรณ์ โดยเป้าหมายเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ นวัตกรรมในยุค 4.0 ประกอบไปด้วย ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะสารสนเทศ สื่อและเทคโนโลยี และทักษะชีวิตและ อาชีพทั้งสามด้านเป็นทักษะที่จำเป็นอย่างยิ่ง และครูผู้สอนอาชีวศึกษาจะต้องมีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะการฝึกปฏิบัติ และ เจตคติที่ดี รวมถึงสมรรถนะและความสามารถพื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่จำเป็นสำหรับการศึกษา การประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างสร้างสรรค์ |
URI: | https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1152 |
Appears in Collections: | Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
สมรรถนะครูผู้สอนอาชีวศึกษาด้านนวัตกรรมการเรียนรู้ ในยุค 4.0.pdf | 197.47 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.