Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1151
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorKunyarudkamon, Warinda-
dc.contributor.authorSiladech, Chairit-
dc.contributor.authorวฤณดา กัญญารัตน์กมล-
dc.contributor.authorชัยฤทธิ์ ศิลาเดช-
dc.date.accessioned2021-05-19T14:07:35Z-
dc.date.available2021-05-19T14:07:35Z-
dc.date.issued2020-07-09-
dc.identifier.citationกชพร ศรีพรรณ์. (2553). การพัฒนาแบบทดสอบมาตรฐานทักษะการรู้สารสนเทศสาหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาสารสนเทศศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.-
dc.identifier.citationโครงการแท็บเล็ตพีซีเพื่อการศึกษาไทย. (2556). ความเป็นมาโครงการแท็บเล็ตพีซีเพื่อการศึกษาไทย. ค้นเมื่อ 5มิถุนายน 2560, จาก http://www.otpc.in.th-
dc.identifier.citationดวงแก้ว เงินพูลทรัพย์ และคณะ, (2559) การพัฒนาแบบทดสอบทักษะการรู้สารสนเทศสำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวารสารศาสตร์. ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.-
dc.identifier.citationปัณณธร เล็กสุภาพ. (2556). การนำนโยบายแท็บแล็ตพีซีเพื่อการศึกษาไทยไปสู่การปฏิบัติของผู้บริหารโรงเรียนในสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตร์มหาบัณฑิต. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.identifier.citationล้วน สายยศและอังคณา สายยศ.. (2543). เทคนิคการวิจัยทางการศึกษา. กรุงเทพฯ : ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ-
dc.identifier.citationวิจารณ์ พาณิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ : ตถาตาพับลิเคชั่น-
dc.identifier.citationศลิษา เลี่ยมสุวรรณ. (2555) การเปรียบเทียบการรู้สารสนเทศและการรู้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนักเรียน มหาวิทยาลัย: กรณีศึกษา นักศึกษาระดับปริญญาตรีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยา เขตปัตตานี-
dc.identifier.citationสุวิมล ติรกานันท์. (2550). การสร้างเครื่องมือวัดตัวแปรในการวิจัยทางสังคมศาสตร์ : แนวทางสู่การ ปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งที่1. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.identifier.citationอนันตยา หล่อพิมพ์. (2561). การพัฒนาแบบทดสอบวัดความสามารด้านคำนวณ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ราชบุรี เขต 1. วิทยานิพนธ์ กศม. (วิจัยและประเมินผลการศึกษา). ราชบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฎหมู่บ้านจอมบึง-
dc.identifier.citationCameron, L., Wise, S. L., & Lottridge, S. M. (2007) The development and validation of the information literacy test. College & Research Libraries-
dc.identifier.citationDowning, S. M., & Haladyna, T. M. (2006). Handbook of test development, MahWah, NJ: Lawrence Erlbaum Associates.-
dc.identifier.citationNeely. T. Y. (2006). Developing information literacy assessment instruments. In Information literacy assessment: Standard-based tools and assignments. Chicago. IL; American Library Association.-
dc.identifier.citationO’Neil, P.B. (2005). Development and validation of the Beile Test of Information Literacy for Education (Btiled) (Doctoral dissertation). University of Central Florida, Orlando, FL.-
dc.identifier.citationPodgornik, B. B., Dolničar, Šorgo, A., & Bartol, T. (2016). Development, testing, and validation of an information Literacy Test (ILT) for higher education, Journal of the Association for information Science and Technology.-
dc.identifier.citationProject SAILS Information Literacy Assessment. (2017), About Our Information literacy test. Retrieved from https://www.projectsails.org/AbortTest-
dc.identifier.urihttps://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1151-
dc.description.abstractThe purposes of this research were 1) to development of information communication and technology literacy skills test for Prathom Sueksa 6 students, 2) to examine the quality of the content validity, difficulty, discrimination, and reliability of the information communication and technology literacy test, and 3) to create the norms of the information communication and technology literacy skills test for Prathom Sueksa 6, Ratchaburi Primary Education Service Area Office 2. The samples were 400 students in Prathom Sueksa 6, Ratchaburi Primary Education Service Area Office 2 who studied in the academic year 2018, by multi-stage random sampling. The research instrument was the information communication and technology literacy skills test for students of Prathom Sueksa 6, Ratchaburi Primary Education Service Area Office 2, which has multiple choice type test with 4 choices totaling 50 questions. The statistics used in the research were percentage, mean, standard deviation, content validity, difficulty, discrimination, reliability, and norms. The results were as follows: 1.The information communication and technology literacy skills test for Prathom Sueksa 6 students, Ratchaburi Primary Education Service Area Office 2 contains multiple choice totaling 50 questions, which include the information communication and technology literacy skills content for Prathom Sueksa 6 students according to the components of literacy of information and communication technology that is linked to learning skills in the 21st century. Research in the country. And abroad That has been synthesized Received 5 indicators for knowledge, information and communication technology. 2.The content validity of the test were in a range of .60-1.00, the difficulty were between .20-.67, discrimination were between .20-.67, and reliability was .92. 3.The general criteria of the numeracy test was showed T-score between T20 - T78.en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อพัฒนาแบบวัดความฉลาดรู้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 2) เพื่อตรวจสอบคุณภาพในด้านความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา ความยากง่าย อำนาจจำแนก และ ความเชื่อมั่น ของแบบวัดความฉลาดรู้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และ 3) เพื่อสร้างเกณฑ์ปกติ สำหรับแปลความหมายของคะแนนจากผลการสอบของแบบวัดความฉลาดรู้เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2561 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 จำนวน 400 คน โดยทำการสุ่มตัวอย่างแบบหลาย ขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบวัดความฉลาดรู้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสำหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรีเขต 2 เป็นแบบวัดปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 50 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา ค่าความยากง่าย ค่าอำนาจจำแนก ค่าความเชื่อมั่น และเกณฑ์ปกติ ผลการวิจัยพบว่า 1. ได้แบบทดสอบวัดความฉลาดรู้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 จำนวน 50 ข้อ ครอบคลุมตามตัวชี้วัดความฉลาดรู้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ตามองค์ประกอบของการรู้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ที่เชื่อมโยงกับทักษะ แห่งการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 งานวิจัยในประเทศ และต่างประเทศ ที่ผ่านการสังเคราะห์แล้ว ได้ตัวชี้วัด ความฉลาดรู้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ทั้งหมด 5 ตัวชี้วัด 2. ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาของแบบทดสอบอยู่ระหว่าง .60 ถึง 1.00 มีค่าความยากง่ายอยู่ระหว่าง .20 ถึง .67 ค่าอำนาจจำแนกอยู่ระหว่าง .20 ถึง .67 มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .92 3. เกณฑ์ปกติของแบบวัดความฉลาดรู้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำหรับนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 มีคะแนนทีปกติตั้งแต่ T20 ถึง T78-
dc.publisherNakhon Pathom Rajabhat Universityen_US
dc.subjectTesten_US
dc.subjectInformation communication and technologyen_US
dc.subjectLiteracyen_US
dc.titleThe Development of Information Communication and Technology Literacy Skills Test for Pratomsuksa 6 Students, Ratchaburi Primary Education Service Area Office 2en_US
dc.titleการพัฒนาแบบวัดความฉลาดรู้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาราชบุรีเขต 2-
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.