Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1110
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorKeangkard, Tonthongkam-
dc.contributor.authorBunchuen, Butsakon-
dc.contributor.authorเก่งกาจ ต้นทองคำ-
dc.contributor.authorบุษกร บุญชื่น-
dc.date.accessioned2021-05-19T05:51:40Z-
dc.date.available2021-05-19T05:51:40Z-
dc.date.issued2020-07-09-
dc.identifier.citationซิน อยู่ดี. (2509). ลูกปัดที่เมืองเก่าอู่ทอง.ในโบราณวิทยาเมืองอู่ทอง.กรมศิลปากรรมรวบรวมจัดพิมพ์เนื่องในงาน เสด็จพระราชดำเนินทรงเปิดพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ อู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี.-
dc.identifier.citationชยารพ ปิยะปราโมทย์ และ ไพลิน โรจน์ทะนงชัย. (2540). การศึกษาปัจจัยการตั้งถิ่นฐานของชุมชนโบราณ สมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลายถึงสมัยทวารวดีในบริเวณลุ่มแม่น้ำป่าสักตอนกลาง.เอกสาร ประกอบการสัมมนา ฉบับนี้เป็นส่วนของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปะศาสตร์บัณฑิต (โบราณคดี). มหาวิทยาลัยศิลปากร-
dc.identifier.citationณัฏฐภัทร จันทวิช และ เรียม พุ่มพงษ์แพทย์. (2549). เครื่องใช้และเครื่องประดับที่ทำด้วยแก้วก่อนพุทธศตวรรษ ที่ 18. สำนักพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติกรมศิลปากรกระทรวงวัฒนธรรม.พิมพ์ครั้งที่ 1.กรุงเทพฯ : บริษัทไท ภูมิพับ ลิซชิ่ง จำกัด. ป-
dc.identifier.citationธิดา ศาระยา. (2545). "ทวารวดี" ต้นประวัติศาสตร์ไทย.กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์เมืองโบราณ. นันทา โรจน์อุดมศาสตร์. (2536). การทำผ้าบาติก. พิมพ์ครั้งที่ 1.กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.-
dc.identifier.citationบัญชา พงษ์พานิช. (2552). รอยลูกปัด.กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มติชน.-
dc.identifier.citationพรชัย สุจิตต์ (2546). ลูกปัดในอดีต-ปัจจุบัน.พิมพ์ครั้งที่ 1.กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์เมืองโบราณ.-
dc.identifier.citationภูธร ภูมะธน และ บัญชา พงษ์พานิช. (2558). อู่ทอง...ที่รอการฟื้นคืนผ่านรอยลูกปัดและพระพุทธศาสนาแรกเริ่ม ในลุ่มน้ำแม่กลอง-ท่จีน.องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การ มหาชน) และมูลนิธิหอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ-
dc.identifier.citationราช รามัญ. (2550). ลูกปัดโบราณ ทวารวดี & DZi เครื่องรางแห่งความรุ่งโรจน์ ร่ำรวย.กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ เพชรประกาย.-
dc.identifier.citationวิรุณ ตั้งเจริญ. (2539). การออกแบบ.พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.-
dc.identifier.citationวันจันทร์ ศีรีวงก์. (2556). เมืองอู่ทองเสน่ห์แห่งลูกกำปิดทวารวดี. กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจำกัด โปรตักล์เฮ้า แอส แชสเซอร์รี่ ศักดิ์ชัย สายสิงห์. (2547). ศิลปะทวารวดีวัฒนธรรมพุทธศาสนายุคแรกเริ่มในดินแดนไทย. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ เมืองโบราณ. อ้อยทิพย์ พลศรี. (2545). การออกแบบลวดลาย.พิมพ์ครั้งที่ 1.กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. อัจฉราพร ไศละสูต (2524). การออกแบบลายผ้าและเทคนิคการพิมพ์.พิมพ์ครั้งที่ 3.กรุงเทพฯ : สหประชาพาณิชย์.-
dc.identifier.urihttps://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1110-
dc.description.abstractThis research aimed to 1. Study the historical information of Dvaravati art beads in U Thong district, Suphan Buri and 2. Design fabric pattern using wax drawing technique and wet glue technique. This was the study on shapes, patterns and colors of Dvaravati beads in U Thong district, Suphan Buri to create the Batik fabric pattern by wax drawing technique and wet glue technique. The relating documents were on the principles of Dvaravati beads context understanding both history and pattern environment surroundings. Then the obtain data was brought to be knowledge foundation connecting to fabric patterns creation. After study from research, papers and survey the finding of this thesis found that the Dvaravati's bead at U-thong district, Suphanburi province has many patterns. Considering each aspect ordered 1. Shape; Dvaravati's bead has many kind of shapes. Some has the similar shape and some has the differences shapes 2. Pattern; Dvaravati's bead pattern has many pattern. The bead's pattern was created by human, some bead's pattern was created by nature and some bead has no pattern. 3. Colour; The colour of the bead was painted by each pattern and was created by nature. 4. Colour and faith; even if there is no clues of this faith but this faith still has the believer The researcher was bought the pattern of Dvaravati's bead at U-thong district, Suphanburi province and use the visual arts theory, Wax textile drawing technic and pasty glue technic to created her work on fabric.en_US
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมาย 1.เพื่อศึกษาข้อมูลประวัติศาสตร์ศิลปะลูกปัดทวารวดี อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี และ 2.เพื่อออกแบบลวดลายบนผืนผ้าเทคนิคการเขียนเทียนและเทคนิคแป้งกาว การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษารูปแบบทางด้านรูปทรง ด้านลวดลาย และด้านสี ของลูกปัดทวารวดี อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี นำมาสร้างลวดลายในรูปแบบของผ้าบาติกต้วยเทคนิคการเขียนเทียนและเทคนิคแป้งกาว และเอกสารที่เกี่ยวข้องยึดหลักของกรทำความเข้าใจในบริบทของลูกปัดทวารวดีต่าง ( ทั้งประวัติและสภาพแวดล้อมท าง รูปแบบของลูกปัดทวารวดี บุคคลแวดล้อม จากนั้นนำข้อมูลที่ได้จากการศึกษามาเป็นฐานความรู้เชื่อมโยงสู่กระบวนการในการ สร้างสรรค์ลวตลายบนผืนผ้า ผลการวิจัยพบว่ารูปแบบของลูกปัดทวารวตี อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าข้อมูล เอกสาร และการลงพื้นที่ศึกษาข้อมูล พบรูปแบบของลูกบัดทวารวดิ่ ซึ่งรูปแบบของลูกปิดทวารวดีมีรูปแบบที่หลากหลายชนิด เมื่อพิจารณาในแต่ละต้านคือ 1.ด้านรูปทรง ในส่วนของด้านรูปทรงของลูกปัตทวารวดีนั้นมีความหลากหลาย ซึ่งในแต่ละ รูปแบบของลูกปัดจะมีรูปทรงที่คล้ายคลึงกัน และรูปทรงที่ตกต่งกัน 2. ด้านลวดลาย ในส่วนของด้านลวดลายของลูกปัด ทวารวดีนั้นมีความหลากหลาย โดยลวดลายของลูกปัดจะขึ้นจากการประดิษฐ์ลวดลายขึ้นมา บางลวดลายเกิดขึ้ นเองตาม ธรรมชาติ และลูกปัดบางรูปแบบไม่มีลวดลายปรากฏ 3. ด้านสี ส่วนของสีลูกปีดนั้นเกิดการเติมแต่งสีของลูกปัดแต่ละรูปแบบ และสีที่เกิดจากธรรมชาติ 4. ด้านสีกับความเชื่อ ส่วนของสีกับความเชื่อของลูกปัดทวารวดีนั้น มีความเชื่อที่ยาวนานแม้จะยังไม่ มีการยืนยันที่มาที่ไปของความเชื่อเหล่านี้ ผู้วิจัยได้นำลวดลายลูกปัดทวารวดี อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณรี มาสร้างสรรค์ โดยใช้หลักทฤษฎีการออกแบบการนำมาสร้างสรรค์บนฝืนผ้าด้วยเทคนิคการเขียนเทียนและเทคนิคแป้งกาว-
dc.publisherNakhon Pathom Rajabhat Universityen_US
dc.subjectDesignen_US
dc.subjectWax drawing technique and wet glue techniqueen_US
dc.subjectDvaravati art beaden_US
dc.titleDvaravati art bead pattern on fabric: A case study of U Thong District, Suphan Buri Provinceen_US
dc.titleศิลปะลวดลายลูกปัดทวารวดีบนผืนผ้า กรณีศึกษา อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี-
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.