Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/110
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorบุญช่วย, สัณหกฤษณ์-
dc.contributor.authorจุลจันทรังษี, จุฑามาศ-
dc.date.accessioned2018-12-06T08:24:19Z-
dc.date.available2018-12-06T08:24:19Z-
dc.date.issued2561-03-29-
dc.identifier.urihttps://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/110-
dc.description.abstractบทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอให้ผู้อ่านเข้าใจและตระหนักถึงภาวะ “ไร้ศีล” ในสังคมไทย และเพื่อสร้าง ความรู้ความเข้าใจถึงความสำคัญของศีล 5 อันจะเป็นส่วนหนึ่งในการผลักดันให้เกิดการนำหลักศีล 5 ไปใช้ในทางปฏิบัติที่ แพร่หลายเพื่อป้องกันปัญหาอาชญากรรมของสังคมไทยในอนาคต และความสำคัญของศีล 5 ตลอดจนบทบาทของศีล 5 ในการป้องกันภาวะ “ไร้ศีล” หรือปัญหาอาชญากรรมในสังคมไทย ซึ่งสรุปได้ว่าภายใต้สภาพสังคมปัจจุบันที่กดดัน เป้าหมาย ทางสังคมที่ให้ความสำคัญกับ “เงิน” และ “ชื่อเสียง” ส่งผลให้มนุษย์ผู้เต็มไปด้วยกิเลสตัณหากระทำความผิดได้โดยง่าย ศีล จึงเป็นข้อพึงปฏิบัติที่กำหนดขึ้นเพื่อจัดการกับความวุ่นวาย และความไร้ระเบียบของสังคม โดยศีลเบื้องต้นที่พึงปฏิบัติ โดยทั่วไป คือ หลักของศีล 5 ซึ่งเป็นข้อห้ามที่พึงยึดเป็นเครื่องเตือนสติ ยับยั้งจิตใจก่อนจะนำความเสียหายมาสู่ตนและคนใน สังคม และด้วยแนวคิดกระบวนการยุติธรรมทางเลือกที่อาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วนในการแก้ไขปัญหาอาชญากรรม ที่เกิดขึ้นในสังคม และด้วยแนวคิดอาชญาวิทยาเชิงพุทธที่มุ่งเน้นหาสาเหตุและแนวทางแก้ไขปัญหาอาชญากรรมที่ระดับของ จิตใจ โดยศีล 5 อันเป็นธรรมะข้อหนึ่งที่เป็นกฎ ข้อห้าม ที่สามารถยึดเป็นหลักเตือนใจและห้ามปรามพฤติกรรมอาชญากรได้ เป็นอย่างดี ปัจจุบันจึงมีการนำหลักศีล 5 มาประยุกต์ใช้เพื่อแก้ไขปัญหาอาชญากรรม และควรส่งเสริมศีลให้ 5 เป็นแนวปฏิบัติ ที่ขยายวงกว้างครอบคลุมสังคมไทยอันเป็นสังคมพุทธเพื่อลดและป้องกันปัญหาอาชญากรรม หรือสภาวะ “ไร้ศีล” ในสังคม อย่างต่อเนื่องในอนาคตen_US
dc.subjectศีล 5en_US
dc.subjectไร้ศีลen_US
dc.subjectสังคมไทยen_US
dc.subjectการกระทำความผิดen_US
dc.titleศีล 5 กับการแก้ปัญหาภาวะ “ไร้ศีล” ในสังคมไทยen_US
Appears in Collections:Proceedings of the 11th NPRU National Academic Conference

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
สัณหกฤษณ์ บุญช่วย.pdf666.67 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.