Please use this identifier to cite or link to this item:
https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1098
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | Yodkaew, Praepat | - |
dc.contributor.author | แพรภัทร ยอดแก้ว | - |
dc.date.accessioned | 2021-05-18T08:23:27Z | - |
dc.date.available | 2021-05-18T08:23:27Z | - |
dc.date.issued | 2020-07-09 | - |
dc.identifier.citation | Easton, David. (1979). A Systems Analysis of Political life. Chicago: University of Chicago Press. | - |
dc.identifier.citation | แพรภัทร ยอดแก้ว. (2559). การศึกษาวิเคราะห์อัลักษณ์ของชาติพันธุ์ลาวครั่ง ในเทศบาลตำบลโพรงมะเดื่อ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม. ในการประชุมวิชากรระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงชลา ครั้งที่ 6 วันที่ 15-16 สิงหาคม 2559. สงขลา: มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา. | - |
dc.identifier.citation | แพรภัทร ยอตแก้ว. (2563). รายงานวิจัยเรื่อง การอนุรักษ์ผ้าทอลาวครั่งกับการสืบสานวัฒนธรรมวิถีพุทธของชาติพันธุ์ ลาวครั่งในเทศบาลตำบลโพรงมะเดื่อ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม. นครปฐม: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม. | - |
dc.identifier.citation | กลุ่มงานจัดการสิ่งแวตล้อมศิลปกรรม. (2562). รายงานผลการดำเนินงานประจำ ปีพ.ศ. 2561 หน่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถิ่น. กองจัดการสิ่งแวตล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม สำนักงานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวตล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวตล้อม. | - |
dc.identifier.citation | ชัชวาลย์ ธรรมสอน. (2557). รายงานวิจัยเรื่อง แผนที่สิ่งแวตล้อมทางธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมการ ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ จังหวัดกำแพงเพชร. กำแพงเพชร: มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร. | - |
dc.identifier.citation | ญาณภัทร ยอตแก้ว. (2561). เอกสารแนะนำหน่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถิ่นจังหวัดนครปฐม พ.ศ.2561. หน่วยอนุรักษ์สิ่งแวตล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถิ่นจังหวัตนครปฐม สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม. | - |
dc.identifier.citation | ญาณภัทร ยอตแก้ว. (2562). แผนงาน/โครงการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562. หน่วยอนุรักษ์สิ่งแวตล้อมธรรมชาติและ ศิลปกรรมท้องถิ่นจังหวัดนครปฐม สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม. | - |
dc.identifier.citation | ธีรเดช ชุมณี. (2557). การอนุรักษ์ทรัพยากรธรมชาติและสิ่งแวดล้อมป้ชายเลนของประชาชนชุมชนบ้านเปร็ดในตำบล ห้วงน้ำขาว อำเภอเมือง จังหวัดตราด. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิซาการจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน, มหาวิทยาลัยบูรพา. | - |
dc.identifier.citation | บุญชม ศรีสะอาด. (2554). การวิจัยเบื้องตัน. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพมหานคร: สุวิริยาสาส์น ผ่องพรรณ ตรัยมงคลกูล และ สุภาฬ ฉัตราภรณ์. (2555). การออกแบบการวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. | - |
dc.identifier.citation | สรายุทธ คานและสมกูล ถาวรกิจ. (2560. รูปแบบการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมของชุมชนกรณีศึกษา:ชุดโครงการวิจัยและ พัฒนาการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ท้องถิ่น เครือข่ายมหาวิทยาลัยราชภัฏ. วารสารสารสนเทศ 16 (2), 169- 181. | - |
dc.identifier.citation | สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. (2559). คู่มือแนวทางการจัดการสิ่งแวดล้อมศิลปกรรมเพื่อ ลดผลกระทบด้านภูมิทัศน์. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัด เรือนแก้วการพิมพ์. | - |
dc.identifier.citation | สำนักจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม. (2560). คู่มือการดำเนินงานอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม ในระดับท้องถิ่น. สำนักงานนโบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวตล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวตล้อม. | - |
dc.identifier.uri | https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1098 | - |
dc.description.abstract | This study was a qualitative research. The objective were to study 1. History of Local Units for Conservation of Natural and Cultural Environment 2. The operational model of Local Units for Conservation of Natural and Cultural Environment, Nakhonpathom Province 3. Development Guidelines for the Operation of Local Units for Conservation of Natural and Cultural Environment in Nakhon Pathom Province. The data were synthesized by content analysis. The sample was selected by purposive sampling from Network of Local Units for Conservation of Natural and Cultural Environment, Nakhonpathom Province. The study revealed that 1.History of Local Units for Conservation of Natural and Cultural Environment comes from the Cabinet resolution on May 1 and August 28, 1984, in favor of the principles of environmental conservation development plan With the intention of the plan focusing on the development of environmental conservation methods in the fine arts to be systematic Sub-committees under the National Environment Board on 26 November 2002, 30 January 2003 and 11 February 2003, respectively, which agreed to increase the role Duties of the Environmental Conservation Unit for Local Fine Arts Carry out environmental conservation work concurrently with environmental conservation Therefore have adapted the name appropriately to Local Units for Conservation of Natural and Cultural Environment (LUCNCE) which has an important role in the operation of conservation of natural environment. Currently, Local Units for Conservation of Natural and Cultural Environment, Nakhonpathom Province is located at the Office of Art and Culture in Nakhonpathom Rajabhat University. 2. The operational model of Local Units for Conservation of Natural and Cultural Environment, Nakhonpathom Province has implemented according to the Environmental Conservation Development Plan for the Arts consisting of 4 plans, which are Plan 1: Administration of Local Units for Conservation of Natural and Cultural Environment. Plan 2: Announcement of the Environmental Conservation Area, Fine Art Program Plan 3: Training Seminar to disseminate knowledge about conservation of natural environmentand arts. Plan 4: Development of information systems for environmental conservation A natural and Local arts. But at present, the conservation unit can operate 3 plans, which are plans 1, 3 and 4 only. 3 . Development Guidelines for the Operation of Local Units for Conservation of Natural and Cultural Environment in Nakhon Pathom Province Exchange of knowledge in the form of knowledge Management using PDCA processes, namely the formulation of an operational plan, reporting and performance tracking. In order to get guidelines for operational development to improve the plan and develop the operational model with efficiency and effectiveness in the years to come. | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยชิงคุณภพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1.ความเป็นมาของหน่วยอนุรักษ์สิ่งแวตล้อม ธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถิ่นจังหวัดนครปฐ 2. รูปแบบการดำเนินงานของหน่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและ ศิลปกรรมท้องถิ่นจังหวัดนครปฐม 3.แนวทางการพัฒนาการดำเนินงานของหน่วยอนุรักษ์สิ่งแวตล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม ท้องถิ่น จังหวัดนครปฐม ใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างในการศึกษาตัวยวิธีเลือกแบบเจาะจง คือ เครือข่ายหน่วยอนุรักษ์ สิ่งแวตล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถิ่นจังหวัตนครปฐม ผลการศึกษา พบว่า 1. ความเป็นมาของหน่วยอนุรักษ์สิ่งแวตล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถิ่นจังหวัดนครปฐม มาจากมติ คณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม และ 28 สิงหาคม 2527 เห็นชอบในหลักการแผนพัฒนาการอนุรักษ์สิ่งแวตล้อม ศิลปกรรม โตยจตนารมณ์ของแผ่นน้นการพัฒนาวิธีการอนุรักษ์สิ่งแวตล้อมศิลปกรรมให้เป็นระบบ ต่อมาคณะอนุกรรมการ ภายใต้คณะกรรมการสิ่งแวตล้อมแห่งชาติ เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ.2545, วันที่ 30 มกราคม พ.ศ.2546 และ วันที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2546 ตามลำดับ ซึ่งได้เห็นชอบให้เพิ่มบทบาทหน้าที่ของหน่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมศิลปกรรมท้องถิ่น ตำเนินงานต้านอนุรักษ์สิ่งแวตล้อมธรรมชาติควบคู่กันไปกับการอนุรักษ์สิ่งแวตล้อมศิลปกรรม จึงไต้ปรับชื่อให้เหมาะสม เป็น "หน่วยอนุรักษ์สิ่งแวตล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถิ่น" อันมีบทบาทหน้าที่สำคัญในการตำเนินงานต้านอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อมธรรมชาติ ควบคู่กันไปการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมศิลปกรรม ปัจจุบันหน่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม ท้องถิ่นจังหวัดนครปฐม ตั้งอยู่ ณ สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม 2. รูปแบบการดำเนินงานของหน่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถิ่นจังหวัดนครปฐม ได้ดำเนินงานตามแผนพัฒนาการอนุรักษ์สิ่งแวตล้อมศิลปกรรม ประกอบด้วย 4 แผ่นงาน คือ แผนงานที่ 1 การบริหารหน่วย อนุรักษ์สิ่งแวตล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถิ่น แผนงานที่ 2 การประกาศเขตอนุรักษ์สิ่งแวตล้อมศิลปกรรม แผนงานที่ 3 การอบรมสัมมนาผยแพร่ความรู้เรื่องการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม แผนงานที่ 4 การพัฒนาระบบข้อมูลเพื่อ การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถิ่น แต่ปัจจุบันหน่วยอนุรักษ์ฯดำเนินงานได้ 3 แผนงาน คือ แผนงานที่ 1 3 และ 4 เท่านั้น3.แนวทางการพัฒนาการตำเนินงานของหน่วยอนุรักษ์สิ่งแวตล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถิ่นจังหวัดนครปฐม มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในลักษณะการจัดการความรู้ ( KI) โตยใช้กระบวนการ PDCA กล่าวคือ มีการจัดทำแผน การ ดำเนินงาน การรายงานผล และการติดตามผลการดำเนินงาน เพื่อจะได้แนวทางในการพัฒนาการดำเนินงานไปปรับปรุง แผนงานและพัฒนารูปแบบการดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลในปีต่อๆ ไป | - |
dc.publisher | Nakhon Pathom Rajabhat University | en_US |
dc.subject | Units for Conservation | en_US |
dc.subject | Environment | en_US |
dc.subject | Natural | en_US |
dc.subject | Cultural | en_US |
dc.subject | Local | en_US |
dc.subject | Nakhon Pathom Province | en_US |
dc.title | The operational model of Local Units for Conservation of Natural and Cultural Environment, Nakhonpathom Province. | en_US |
dc.title | รูปแบบการดำเนินงานของหน่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถิ่นจังหวัด นครปฐม | - |
dc.type | Article | en_US |
Appears in Collections: | Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
รูปแบบการดำเนินงานของหน่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถิ่นจังหวัด.pdf | 277.51 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.