Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1070
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorPLONGTHONG, JIRASUPA-
dc.contributor.authorสัณหกฤษณ์ บุญช่วย-
dc.contributor.authorจุฑามาศ จุลจันทรังชี-
dc.date.accessioned2021-05-18T03:38:36Z-
dc.date.available2021-05-18T03:38:36Z-
dc.date.issued2020-07-09-
dc.identifier.citationกรมสุขภาพจิต. (2561). รายงานจำนวนการฆ่าตัวตายของประเทศไทยแยกตามช่วงอายุ แหล่งที่มา : https://www.dmh.go.th/report/suicide/age.asp. 11 กันยายน 2561.-
dc.identifier.citationชิตกมล สังข์ทอง. (2536). การศึกษาองค์ประกอบที่มีอิทธิพลต อวินัยในตนเองของวัยรุน. วิทยานิพนธปริญญา มหาบัณฑิต สาขาจิตวิทยาพัฒนาการ บัณฑิตวิทยาลัยจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย.-
dc.identifier.citationบีบีซีออนไลน์. (2561). 2 ปี 14 ครั้ง คือ ความพยายามฆ่าตัวตายผ่านสื่อสังคมออนไลน์ในไทย. (ออนไลน์). สืบค้นได้จาก : https://www.bbc.com/thai/thailand -45524875 (วันที่สืบค้น 15 พฤศจิกายน 2561).ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์. (2531). อาชญาวิทยา: สหวิทยาการว่าด้วยปัญหา อาชญากรรม. กรุงเทพฯ โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.-
dc.identifier.citationพรพัช จุทากุล. (2561). สำรวจเด็กต่ำกว่า 18 ปี เคยคิดฆ่าตัวตาย 80%. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริม สุขภาพ.(ออนไลน์). เข้าถึงได้จา.. http://www.thaihealth.or.th/Content/45168. (วันที่สืบคั้น 5 พฤศจิกายน 2561).-
dc.identifier.citationพรรณทิพย์ ศิริวรรณบุศย์. (2547). พิมพ์ครั้งที่ 2. ทฤษฎีจิตวิทยาพัฒาการ. กรุงเทพ ฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.-
dc.identifier.citationฟรอยด์, ชิกมันด์. (2531). พื้นฐานทฤษฎีจิตวิเคราะห์. แปลโดย กิติกร มีทรัพย์. กรุงเทพ ฯ : สมิต.-
dc.identifier.citationรักลูก. (2561). พ่อแม่ 5 ประเภท ที่ผลักลูกเผชิญโรคซึมเศร้าตั้งแต่เด็ก. (ออนไลน์). สืบคั้นได้จาก http://www.rakluke.com/article. (สืบค้นวันที่ 15 พฤศจิกายน 2561)-
dc.identifier.citationศูนย์สุขภาพจิตภาวะการเจ็บป่วย. (ม.ป.ป.). โรคซึมเศร้า, โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์.(ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก https://ww.bumrungrad.com/th. (วันที่สืบค้น 5 Wฤศจิกายน 2561),-
dc.identifier.citationสุชา จันทร์เอม. (2536). จิตวิทยาพัฒนาการ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : บริษัทโรงพิมพ์ไทยวัฒนาพาณิชจำกัต.-
dc.identifier.citationสุวรรณี พุทธิศรี. (ม...ป.). จิตเวซศาสตร์เด็กและวัยรุ่น ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล.-
dc.identifier.citationอัมพร เบญจพลพิทักษ์. (ม..ป.). จิตวิทยาเพื่อการดำรงชีวิต : พฤติกรรมเบี่ยงเบน. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิ ราช.-
dc.identifier.citationอุรุดา สุดมี. (2533). การอบรมเลี้ยงดูกับความสามารถในการคิดหาเหตุผลเชิงตรรกศาสตรและ ความรับผิดชอบของ นักเรียนที่มีความบกพรองการไดยิน ชั้นมัธยมศึกษาตอนน. วิทยานิพนธปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต วิซาเอก การศึกษาพิเศษ มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ.-
dc.identifier.citationออเนสต็อคส์ .(2561). ภาวะซึมเศร้าคืออะไร? เข้าถึงได้จาก: https://www.honestdocs.co. (วันที่สืบค้น 5 พฤศจิกายน 2561).-
dc.identifier.citationPorraphat Jutrakul. (2561). สำรวจเด็กต่ำกว่า 18 ปี เคยคิดฆ่าตัวตาย 809. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริม สุขภาพ.(ออนไลน์). เข้าถึงไต้จาก.. http://www.thaihealth.or.th/Content/45168-. (วันที่สืบคั้น 5 พฤศจิกายน 2561)-
dc.identifier.urihttps://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1070-
dc.description.abstractLanguage is an integral part of culture responsible for developing the community in accordance with the housing society by learning original knowledge combined with new changes. The existence of the people is necessary to use language as a tool to carry on. Thailand uses the standard Thai language for being the official language and use local language for Tai dialects and minorities. Lao Kang or Lao Krang often called themselves as Laos Krang or Lac is a minority group living in each community scattered throughout different regions throughout Thailand. Thereafter, migrated to Thailand the reasons of the politic and prisoners of war. Currently, they have been living in the central region of Thailand such as Nakhon Pathom, Suphanburi, Chainat, Uthai Thani, and etc. Thai people of Laos Krang immigrants had their unique culture including language, dress code, tradition and various rituals and beliefs which have been carried on for a long time, especially the language – Laos Krang language. The linguists have organized the Laos Krang language in Tai-Kadai language. For the specific characteristic of Laos Krang that could be immediately divided was the spoken language which had high intonation marks similar to Laos language in northern and northeastern regions of the Laos People’s Democratic Republic such as Luang Prabang and Xaignabouli. Furthermore, it also resembled Nakhon Thai language, the spoken language in Nakhon Thai district, Phitsanulok province. The dominant feature of Laos Krang language which was different from other group of Laos languages was that, in addition to the sound characteristic, the closing words were also the ethnic identity of Laos Krang. Although there is a close contact with the standard Thai language at present but the Lao Khrang language still exists to carry on the duty of inheriting the Lao Khrang ethnic groupen_US
dc.description.abstractอาการเจ็บป่วยทางร่างกายเป็นอาการที่สามารถสังกได้จากภายนอก ในขณะที่อาการเจ็บป่วยภายในจิตใจเป็นสิ่ง ที่ซ่อนลึกภายใต้ร่างกายและพฤติกรรมอันยากที่จะเข้าใจและสังกตเห็น"ภาวะซึมเศร้า"เป็นอาการของโรคทางด้านจิตใจ ประเภทหนึ่งที่สังเกตได้ยากและได้สร้างความสูญเสียอย่างน่าสลดใจของหลาย ( ครอบครัว เนื่องด้วยสภาพสังคมปัจจุบันที่ ความสัมพันธ์หรือความผูกพันของผู้คนในสังคมมีความเบาบางลง ในขณะที่ความเจริญก้าวหน้าของสังคมกดดันให้มนุษย์ส่วน ใหญ่ต่างเร่งแสวงหาความมั่งคั่งร่ำรวย ด้วยทรัพย์สินเงินทองวัตถุภายนอกเพื่อความสุขเล็กน้อยและไม่ยั่งยืน ส่งผลให้เกิดความ อ่อนแอในส่วนของสภาพจิตใจ ทำให้ผู้คนส่วนหนึ่งที่มีความเปราะบางด้านคุณธรรมจริยธรรม จนอาจนำไปสู่การก่อ อาชญากรรมต่อบุคคลอื่นในสังคม กระนั้นในบางกลุ่มมีความอ่อนแอทางจิตใจไม่สามารถข้มแข็งและอยู่ใด้ด้วยตนเองอาจ หลีกหนีปัญหาด้วย "การฆ่าตัวตาย" ที่มีปรากฏขึ้นเป็นจำนวนมากในสังคมปัจจุบัน ดังนั้นการทำความเข้าใจภาวะซึมเศร้าจึง เป็นสิ่งที่ทุกคนในสังคมควรให้ความสใจและใส่ใจซึ่งกันและกันจึงจะสามารถลปัญหาอาชญากรรมที่มีโอกาสทวีความรุนแรง มากขึ้นในอนาคต-
dc.publisherNakhon Pathom Rajabhat Universityen_US
dc.subjectLao Krang Ethnic Groupen_US
dc.subjectLanguage Developmenten_US
dc.subjectLao Khrang languageen_US
dc.titleLanguage Development of Lao Krang Ethnic Group in Thailanden_US
dc.titleภาวะซึมเศร้ากับการฆ่าตัวตายของเด็กและเยาวชนไทย-
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.