Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1015
Title: Factors that influence client confidence in using applications (KMA) of Bank’s customer Ayudhya Public Company Limited
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเชื่อมั่นในการใช้แอปพลิเคชัน (KMA) ของลูกค้า ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด(มหาชน)
Authors: Taerungreaung, Nantapak
Pooripakdee, Santidhorn
นันทภัค แต่รุ่งเรือง
สันติธร ภูริภักดี
Keywords: Experiential Marketing
Confidence
Application (KMA)
Marketing Mix
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: Davis, F. D. (1989). Perceived Usefulness, Perceived Ease of Use, and User Acceptance of Information Technology. MIS Quarterly, 13(3), 319-340.
Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B. J., & Anderson, R. E. (Eds.). (2010). Multivariate Data Analysis (7th ed.). Upper Saddle River, New Jersey: Prentice Hall.
Kotler, P., & Keller, K. L. (2012). Marketing Management: Pearson.
Morgan., & Hunt. (1994). The Commitment - Trust Theory of Relationship Marketing. Journal of Marketing Management(58 JULY), 20-30.
Mukaka, M. M. (2012). Statistics corner: A guide to appropriate use of correlation coefficient in medical research. Malawi medical journal : the journal of Medical Association of Malawi, 24(3), 69-71.
Schmitt, B. (1999). Experiential Marketing. Journal of Marketing Management, 15(1-3), 53-67. doi:10.1362/026725799784870496
Yong, A., & Pearce, S. (2013). A Beginner’s Guide to Factor Analysis: Focusing on Exploratory Factor Analysis. Tutorials in Quantitative Methods for Psychology, 9, 79-94.
ชัชชพันธ์ เล็กเจริญ. (2559). การตลาดเชิงประสบการณ์กับความภักดีของผู้บริโภคในการชมการแสดงทอล์คโชว์. สถาบัน บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, กรุงเทพฯ.
เพลินทิพย์ โกเมศโสภา. (2547). ก้าวสู่มิติใหม่ด้วยการตลาดประสบการณ. จุฬาลงกรณ์วารสาร, 16(62), 5-16.
มะลิวัลย์ แสงสวัสดิ์. (2556). ปัจจัยความเชื่อมั่นและความภักดีที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจใช้บริการห้างสรรพสินค้า กรณีศึกษาห้างสรรพสินค้าชั้นนำในกรุงเทพมหานคร. มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, กรุงเทพฯ.
สุรีย์พ ร เห มือ งห ลิ่ง. (2558). ปัจ จัย ที่มีผ ล ต่อ ค วาม เชื่อ มั่น ใน ใน การใช้บ ริก ารท างก ารเงิน ผ่าน Mobile. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ.
อู่ผลเจริญ, ช., & ประจักษ์เนตร, พ. (2559). การวิเคราะห์ปัจจัยการตลาดเชิงประสบการณ์ที่ใช้เทคโนโลยีความจริงเสริมผ่าน แคมเปญสื่อสารการตลาด. วารสารนิเทศศาสตร์และนวัตกรรมนิด้า, 3(2).
Abstract: This objective of this study were 1) to study demographic characteristics that influences on confidence in using application (KMA), 2) to study marketing mix factors that influences on confidence in using application (KMA) and 3) to study experiential marketing factors that influences on confidence in using application (KMA) in Thailand. By using questionnaires to collect dada with 405 sample of customers who use the application (KMA) service. Data were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation and hypothesis test by t-test, f-test and multiple regression. The finding showed that education levels and incomes have an influence on the confidence in using application (KMA) ( service quality) , education levels and status have an influence on the confidence in using application (KMA) (trust) and jobs have an influence on the confidence in using application (KMA) (corporate image) and study marketing mix factors that influences on confidence in using application (KMA) . But, experiential marketing factors that influences on confidence in using application (KMA) not insignificant at 0.05 level. The results of the study can be used to create marketing promotion policies along with the creation of experience marketing and customer recognition. To give customers confidence in the application (KMA).
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์คือ 1) เพื่อศึกษาลักษณะประชากรศาสตร์ที่มีความเชื่อมั่นในการใช้แอปพลิเคชัน (KMA) 2) เพื่อศึกษาปัจจัยด้านส่วนประสมทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อความเชื่อมั่นในการใช้แอปพลิเคชัน (KMA) และ 3) เพื่อศึกษา ปัจจัยด้านการตลาดเชิงประสบการณ์ที่มีอิทธิพลต่อความเชื่อมั่นในการใช้แอปพลิเคชัน (KMA) โดยใช้แบบสอบถามในการเก็บ ข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่าง 405 คนที่เป็นลูกค้าที่ใช้บริการแอปพลิเคชัน (KMA) ในประเทศไทย วิเคราะห์ข้อมูลด้วยความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานโดยใช้สถิติทีเทส เอฟเทส และการวิเคราะห์การถอดถอยพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่า ระดับการศึกษาและรายได้มีอิทธิพลต่อความเชื่อมั่นในการใช้บริการแอปพลิเคชัน (KMA) (คุณภาพการบริการ) ระดับการศึกษาและสถานภาพมีอิทธิพลต่อความเชื่อมั่นในการใช้บริการแอปพลิเคชัน (KMA) (ความ ไว้วางใจ) อาชีพมีอิทธิพลต่อความเชื่อมั่นในการใช้แอปพลิเคชัน (KMA) (ภาพลักษณ์องค์กร) และปัจจัยส่วนประสมทาง การตลาดมีอิทธิพลต่อความเชื่อมั่นในการใช้บริการแอปพลิเคชัน (KMA) แต่ปัจจัยด้านการตลาดเชิงประสบการณ์มีอิทธิพลต่อ ความเชื่อมั่นในการใช้แอปพลิเคชัน (KMA) อย่างไม่มีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 ซึ่งผลการศึกษาสามารถนำไปสร้างนโยบายด้าน การส่งเสริมการตลาดควบคู่กับการสร้างการตลาดเชิงประสบการณ์สร้างการจดจำให้แก่ลูกค้า เพื่อให้ลูกค้าเกิดความเชื่อมั่นใน แอปพลิเคชัน (KMA)
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1015
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.