Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1010
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorBoonpermpol, Monthakan-
dc.contributor.authorSapwarobol, Teerasak-
dc.contributor.authorมณฑกาญจน์ บุญเพิ่มผล-
dc.contributor.authorธีรศักดิ์ ทรัพย์วโรบล-
dc.date.accessioned2021-05-16T13:48:03Z-
dc.date.available2021-05-16T13:48:03Z-
dc.date.issued2020-07-09-
dc.identifier.citationกรมทรัพย์สินทางปัญญา. (2562). ความรู้เบื้องต้นสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) (Online). www.ipthailand.go.th.-
dc.identifier.citationกนกวรรณ จันทร์เจริญชัย. (2562). หลักการวิเคราะห์ความเป็นได้เชิงเศรษฐศาสตร์และธุรกิจ. กรุงเทพมหานครและ ปริมณฑล: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.-
dc.identifier.citationกิตติณัฎฐ์ จิตต์อาจหาญ และ พนามาศ ตรีสุวรรณกุล. (2558). พฤติกรรมผู้บริโภคสินค้าเกษตรอินทรีย์ในตลาดสุขใจ อำ เภอสามพราน จังหวัดนครปฐม. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาส่งเสริมการเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.-
dc.identifier.citationจิตราภา บุญญานุสนธิ์. (2558). ความต้องการซื้อสินค้าธัญพืชประเภทข้าวอินทรีย์. วิทยานิพนธ์การจัดการมหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.-
dc.identifier.citationนภวงศ์ ภาวะโสภณ. (2560). ความเต็มใจจ่ายของผู้บริโภคต่อข้าวหอมมะลิทุ่งกุลาร้องไห้ที่ได้รับการรับรองสิ่งบ่งชี้ทาง ภูมิศ าส ต ร์. วิท ยานิพ น ธ์วิท ยาศ าส ต รม ห าบัณ ฑิต ส าข าเศ รษ ฐศ าสต ร์เก ษ ต รแ ล ะท รัพ ย าก ร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.-
dc.identifier.citationเยาวรัตน์ ศรีวรานันท์. (2554). ความเต็มใจจ่ายของผู้บริโภคในจังหวัดขอนแก่นที่มีต่อเนื้อสุกรอินทรีย์. วารสารเศรษฐศาสตร์และนโยบายสาธารณะ. 4(7): 1-24.-
dc.identifier.citationอดุลย์ ศุภนัท. (2560). ความเต็มใจจ่ายสำหรับข้าวเสริมแคลเซียม. วารสารศรีนครินทรวิโรฒและพัฒนา (สาขา มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์). 9(18): 230-240.-
dc.identifier.citationBreusch, T. S., and A. R. Pagan. (1979). A simple test for heteroscedasticity and random coefficient variation. Econometrica. 47: 1287-1294.-
dc.identifier.citationJolly D. A. (1991). Differences Between Buyers and Nonbuyers of Organic Produce and Willingness to Pay Organic Price Premiums. Journal of Agribusiness. 9(1): 1-15.-
dc.identifier.citationKotler P., (1997). Marketing Management: Analysis, Planning, Implementation and Control. 9th edition. New Jersey: Prentice-Hall, Inc.-
dc.identifier.citationYamane, T., (1967). Statistics: An Introduction Analysis. Tokyo: Harper International.-
dc.identifier.urihttps://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1010-
dc.description.abstractThe main purpose of this study was to investigate factors affecting willingness to pay for geographical indication certification of Sangyod Mueang Phatthalung Rice by randomly surveying 400 rice consumers in Bangkok Metropolitan Region. The results revealed that the subjects were mostly females, 37.5 years old on average, single status, Bachelor’s degree or equivalent, and had average income of 41,250.81 baht per month. The behaviors of subjects mostly had rice three times per day and buy packed rice once per month. Most of the subjects had not previously known, tried or bought Sangyod Mueang Phatthalung or Geographical Indication certified rice. Results analyzed with logistic regression showed that factors positively affecting geographical indication certification of Sangyod Mueang Phatthalung Rice at a significant level of 0.01 were: placing importance on labeled certified by government agency and placing importance on increasing Thai farmers’ income. Therefore, communicating labels certified by government agency and being able to increase Thai farmers’ income should be emphasized to target consumers.en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความเต็มใจจ่ายส่วนเพิ่มสำหรับการรับรองสิ่งบ่งชี้ทาง ภูมิศาสตร์ของข้าวสังข์หยดเมืองพัทลุง โดยเก็บแบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่างผู้บริโภคข้าวในพื้นที่กรุงเทพมหานครและ ปริมณฑล จำนวน 400 คน และได้ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและการวิเคราะห์ถดถอยแบบโลจิสติกส์ ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุเฉลี่ย 37.5 ปี สถานภาพโสด มีระดับการศึกษาในระดับปริญญา ตรีหรือเทียบเท่า และมีรายได้ส่วนบุคคลเฉลี่ยต่อเดือน 41,250.81 บาท ซึ่งพฤติกรรมของกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มัก รับประทานข้าวโดยทั่วไป 3 มื้อต่อวัน ซื้อข้าวสารบรรจุถุง 1 ครั้งต่อเดือน ส่วนใหญ่ของกลุ่มตัวอย่างยังไม่รู้จัก ไม่เคย รับประทาน หรือซื้อข้าวสังข์หยดเมืองพัทลุงหรือข้าวที่ผ่านการรับรองสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์มาก่อน ผลจากการวิเคราะห์ ถดถอยแบบโลจิสติกส์ พบว่า ปัจจัยหลักที่ส่งผลต่อความเต็มใจจ่ายส่วนเพิ่มสำหรับการรับรองสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ของข้าว สังข์หยดเมืองพัทลุงในเชิงบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ได้แก่ ปัจจัยการให้ความสำคัญกับฉลากรับรองมาตรฐาน โดยภาครัฐ และการให้ความสำคัญต่อการเพิ่มรายได้ให้เกษตรกรไทย ดังนั้น จึงควรเน้นการสื่อสารเกี่ยวกับฉลากรับรอง มาตรฐานโดยภาครัฐและการช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกรไทย ให้เข้าถึงกลุ่มผู้บริโภคเป้าหมาย-
dc.publisherNakhon Pathom Rajabhat Universityen_US
dc.subjectSangyod Mueang Phatthalung Riceen_US
dc.subjectWillingness to Payen_US
dc.subjectGeographical Indication Certificationen_US
dc.titleFactors Affecting Willingness to Pay for Geographical Indication Certification of Sangyod Mueang Phatthalung Riceen_US
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อความเต็มใจจ่ายสำหรับการรับรองสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ ของข้าวสังข์หยดเมืองพัทลุง-
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.